Page 48 - การสืบสวนสอบสวน
P. 48

๔๑




                 »˜¨¨Ñ·Õèทําãˌʶҹ·Õèà¡Ô´àËμØàÊÕÂËÒÂ
                             ๑.  ไทยมุง

                             ๒.  ปดกั้นสถานที่เกิดเหตุชาเกินไป
                             ๓.  มีการเปลี่ยนแปลงสถานที่เกิดเหตุโดยความตั้งใจของคนราย

                             ๔.  มีการเปลี่ยนแปลงรูปคดีของคนบางคน
                             ๕.  สภาพภูมิประเทศ
                             ๖.  ความพลั้งเผลอของเจาหนาที่ตํารวจ

                                     ๓)    ใหพิจารณาทุกสิ่งทุกอยางในสถานที่เกิดเหตุวาเปนวัตถุพยาน
                                     ๔)    รีบแจงเจาหนาที่พิสูจนหลักฐานมาตรวจสถานที่เกิดเหตุ
                                     ๕)    ระหวางที่ตรวจสถานที่เกิดเหตุเพื่อปองกันไมใหรองรอยพยานหลักฐาน

                 ถูกทําราย บุคคลอื่นใดที่มีความจําเปนจะเขาไปในสถานที่ปดกั้น ตองไดรับอนุญาตจากพนักงาน
                 สอบสวนหรือเจาหนาที่ตรวจสถานที่เกิดเหตุของสํานักงานนิติวิทยาศาสตรตํารวจที่มีพื้นที่รับผิดชอบกอน

                                     ๖)    เจาหนาที่ซึ่งมีหนาที่เกี่ยวของที่จะเขาไปตรวจสถานที่เกิดเหตุ ตองมีอุปกรณ
                 ปองกันและระมัดระวังมิใหรองรอยพยานหลักฐานถูกทําลาย หรือทําใหเสื่อมคาหรือไปเพิ่มรองรอยขึ้น
                 ควรใสถุงคลุมเทาและถุงมือหรืออุปกรณอื่นๆ ตามความจําเปนแหงคดี

                                     ๗)    ในคดีที่ไมสามารถตรวจสถานที่เกิดเหตุใหเสร็จภายในวันเดียว หรือมีเหตุ
                 ความจําเปนตองรักษาสถานที่เกิดเหตุไวกอน ใหเจาหนาที่ตรวจสถานที่เกิดเหตุประสานกับสถานีตํารวจ

                 ทองที่เพื่อเฝาดูแลโดยปดกั้นสถานที่เกิดเหตุไวจนกวาจะหมดความจําเปนหรือเสร็จการตรวจสถานที่
                 เกิดเหตุดังกลาว
                                     ๘)    เมื่อเจาหนาที่ตํารวจพิสูจนหลักฐานคนแรกที่เขาไปตรวจสถานที่เกิดเหตุ

                 ตองพิจารณาสถานที่เกิดเหตุวามีเหตุเกิดขึ้นอยางไรและมีรองรอยวัตถุพยานอะไรบาง วางแผนการปฏิบัติงาน
                 เขาตรวจสถานที่เกิดเหตุและกําหนดทางเดินของเจาหนาที่ชุดตางๆ โดยขอทราบขอมูลเบื้องตน

                 จากพนักงานสอบสวน
                                     ๙)    บันทึกสถานที่เกิดเหตุ ทําแผนที่ และถายภาพ โดยใชกลองถายรูปหรือวีดิทัศน
                 ทําการเก็บภาพเหตุการณ ลักษณะสถานที่ บริเวณโดยรอบ และสิ่งตางๆ รวมทั้งภาพผูเสียชีวิต

                 ในมุมตางๆ และภาพรางกายสวนตางๆ ที่สําคัญ
                                    ๑๐)    คนหาและตรวจเก็บรองรอยวัตถุพยานตางๆ  ตามหลักวิชาการ  เชน

                 การเก็บลายนิ้วมือแฝงตามวัตถุตางๆ เชน ลูกบิด ประตู หนาตาง มือจับหนาตาง ในทองที่เกิดเหตุ
                 และหองขางเคียง เก็บรองรอยจากวัตถุพยานตางๆ เชน มีด ปน ไขควง คอน หรืออุปกรณที่อาจใชใน
                 การฆาตกรรม รวมทั้งตรวจเก็บวัตถุพยานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของในคดี เชน คราบโลหิต เสนผม เสนขน

                 เสนใย ลูกกระสุนปนและปลอกกระสุนปน  เปนตน โดยไมยุงเกี่ยวกับสภาพศพ จัดเก็บหลักฐานใสถุง
                 พรอมระบุรายละเอียดและหมายเลข โดยทําบันทึกรับ-สง มอบใหพนักงานสอบสวนไปดําเนินการ

                 ในสวนที่เกี่ยวของและสงเจาหนาที่กองพิสูจนหลักฐานกลางหรือศูนยพิสูจนหลักฐาน ๑-๑๐ หรือพิสูจน
                 หลักฐานจังหวัด แลวแตกรณีตรวจพิสูจนตอไป
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53