Page 52 - การสืบสวนสอบสวน
P. 52

๔๕




                                              ๔.๖   จัดเตรียมคําบรรยายลักษณะ (Prepare narrative description)
                                              ๔.๗   การถายภาพสถานที่เกิดเหตุ (Depict scene photographically)
                                              ๔.๘   การจัดเตรียมแผนผังหรือสเก็ตชภาพที่เกิดเหตุ (Prepare diagram
                 /Sketch of scene)

                                              ๔.๙   การตรวจคนอยางละเอียด (Conduct detailed search)
                                              ๔.๑๐  บันทึกและเก็บวัตถุพยาน (Record and Collect physical evidence)
                                              ๔.๑๑  การปฏิบัติการสํารวจครั้งสุดทาย (Conduct final survey)
                                              ๔.๑๒  การสงคืนสถานที่เกิดเหตุจากความรับผิดชอบ (Release scene)
                                 ó.ñ.ô   ÇÔ¸Õ¡ÒÃμÃǨ¤Œ¹ËÒÇÑμ¶Ø¾Âҹ㹷Õèà¡Ô´àËμØ

                                         ñ.  ÇÔ¸Õ¤Œ¹ËÒẺá¶Ç˹ŒÒ¡Ãдҹ  (Strip Method)
                                              วิธีนี้เจาหนาที่ ๓-๔ นาย  แลวแตความจําเปนหรืออาจมากกวาได
                 ใหเหมาะสมสําหรับบริเวณกวาง  กลางแจง  สนาม  ปาละเมาะ  ผูตรวจคนจะเดินเรียงแถวกัน
                 เปนหนากระดานจากจุดเริ่มตนเดินขนานกับขอบพื้นที่ดานใดดานหนึ่ง เดินไปจนสุดบริเวณแลว
                 เลี้ยวกลับไปมีระยะเลี้ยวประมาณ ๑ เมตร  โดยแบงพื้นที่ใหแตละคนรับผิดชอบในเขตของตน

                 อาจแบงในลักษณะเปนแถบ (Strip)  มีขนาดเทาๆ กันหลายๆ แถบก็ได จึงเรียกวิธีนี้วาแถว
                 หนากระดาน (Strip Method) โดยแตละนายรับผิดชอบหาพยานวัตถุที่อยูในเขตของตน ถาหากพบ
                 พุมไมขางหนาขวางอยูจะตองคลานเขาไปดูขางใตจะเดินหลบไมได หากพบพยานวัตถุ  เชน อาวุธ
                 เครื่องมือ ปลอกกระสุนหรือวัตถุสิ่งใด ใหทุกคนหยุดรอจนกวาพยานวัตถุจะถูกเก็บรวบรวมและ
                 ถายภาพเรียบรอยแลว   จึงเดินตอไปไดดังภาพ การกําหนดขนาดของแถบ (Strip) ขึ้นอยูกับลักษณะ

                 ของพื้น ถาพื้นที่ที่ทําการคนเปนพื้นที่โลง  เชน บนถนนทางเทาขนาดของแถบก็จะใหญขึ้น เนื่องจาก
                 เจาหนาที่ทําการคนสามารถที่จะมองเห็นพยานวัตถุตางๆ ไดงาย ในขณะที่ถาพื้นที่นั้นมีหญาขึ้นรก
                 เชน  ในทุงนาขนาดของแถบก็อาจจะแคบลงมาเนื่องจากไมสามารถเห็นพยานวัตถุไดโดยงาย
                 ตองทําการคนอยางละเอียดทุกตารางนิ้ว

                                         ò.   ÇÔ¸Õ¤Œ¹áººá¶Ç˹ŒÒ¡Ãдҹ»ÃÐÂØ¡μ (Applied Strip Method or
                 Grid Method)
                                              เปนการคนหาพยานวัตถุที่จะเพิ่มความละเอียดมากขึ้นกวาเดิมโดยใช
                 การเดินแบบแถวหนากระดานทั้งในแนวราบและแนวตั้ง เพื่อผลในการคนหาที่ละเอียดมากขึ้นกวาวิธีแรก
                 เหมาะสําหรับใชกับพื้นที่ที่เปนปารกหรือสถานที่ที่ไมเอื้ออํานวยตอการตรวจสอบเพียงครั้งเดียวพยาน
                 วัตถุมีโอกาสจะถูกคนพบมากขึ้นหากเลือกใชวิธีนี้ ดังภาพ

                                         ó.   ÇÔ¸Õ¤Œ¹ËÒáººÇ§ÅŒÍ (Wheel Method)
                                              การคนหาพยานวัตถุในพื้นที่เปนวงกลมจะใชแบบวงลอก็ได โดยแบง
                 วงกลมออกเปนเสี้ยวๆ ขนาดเทาๆ  กัน ใหแตละคนรับผิดชอบภายในเสี้ยวของวงกลมนั้นๆ เริ่มตน

                 คนหาจากจุดศูนยกลางพรอมกันแลวเดินหนาไปสูเสนรอบวง ระหวางเสนทางหากพบพยานวัตถุใดๆ
                 ก็ดําเนินการตามวิธีการเก็บรวบรวมตอไป วิธีคนแบบนี้มีขอเสียที่พยานวัตถุอาจถูกทําลายหรือเสียหาย
                 ขณะที่เจาหนาที่ผูคนทุกคนอยูตรงจุดศูนยกลางและยิ่งตรวจไกลออกไปจากจุดศูนยกลางอาณาเขต

                 ดานซายมือและขวามือของแตละคนก็ยิ่งมากขึ้น โอกาสที่พยานวัตถุจะมองขามไปจึงเปนไปไดสูง
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57