Page 51 - การสืบสวนสอบสวน
P. 51

๔๔




                          ๓.๑.๓   กฎเกณฑพื้นฐาน ๔ ประการที่ทําใหวัตถุพยานไดรับการยอมรับในชั้นศาล
                                  -   การปองกันและรักษาสถานที่เกิดเหตุ

                                  -   เก็บวัตถุพยานอยางถูกตองตามกฎหมาย
                                  -   กระทําการคนหาวัตถุพยานอยางเหมาะสม

                                  -   มีความตอเนื่องของการครอบครองวัตถุพยานโดยตลอด (Chain of
              Custody)

                                  ๑.   ความตอเนื่องของการครอบครองวัตถุพยาน (Chain of Custody)
                                   หมายถึง หวงโซแหงการครอบครองวัตถุพยาน โดยวัตถุพยานนั้นจะอยู

              ภายใตการรักษา การครอบครองดูแลของบุคคลหรือหนวยงานที่มีอํานาจตามกฎหมาย ตั้งแต
              การเก็บ รักษา ตรวจพิสูจน จนกระทั่งนํามาแสดงในชั้นศาล โดยไมขาดชวงของการครอบครองและ

              ถามีการเปลี่ยนแปลงการครอบครองจะตองมีหลักฐานบันทึกแสดงการรับ-สงวัตถุพยานนั้นตลอด
                                  ๒.    สิ่งที่เจาหนาที่ตํารวจสืบสวนควรยึดเปนหลักปฏิบัติเพื่อทําใหการตรวจ
              สถานที่เกิดเหตุไดผลดีที่สุด

                                        ๒.๑  เมื่อไดรับแจงเหตุ ตองรีบไปสถานที่เกิดเหตุใหเร็วที่สุด
                                        ๒.๒   พิจารณาทุกสิ่งทุกอยางในสถานที่เกิดเหตุวาเปนวัตถุพยาน

                                          ๒.๓  รีบแจงเจาหนาที่ที่เกี่ยวของมาทําการตรวจสถานที่เกิดเหตุ
                                     ๓.   สิ่งที่เจาหนาที่ตํารวจสืบสวนควรปฏิบัติขณะรอผูชํานาญ

                                          ๓.๑  บันทึกชื่อของพยาน และบุคคลอื่นที่เขา-ออกสถานที่เกิดเหตุ
                                          ๓.๒   บันทึกขอมูลของบุคคลที่อยูในที่เกิดเหตุเมื่อเจาหนาที่ไปถึง

                                          ๓.๓   หาขอเท็จจริงเบื้องตนที่เกิดขึ้น
                                          ๓.๔   แยกตัวผูตองสงสัยออกจากพยาน

                                          ๓.๕   แนะนําพยานไมใหถกเถียงหรือพูดคุยเหตุการณที่เกิดขึ้น
                                          ๓.๖   เจาหนาที่ตํารวจเองก็ไมควรพูดคุยหรือถกเถียงกับพยาน

                                          ๓.๗   เจาหนาที่ตํารวจควรฟงคําบอกเลาของพยานอยางตั้งใจ
                                          ๓.๘   ปองกันวัตถุพยานตางๆ จากการถูกทําลาย
                                     ๔.   การตรวจสถานที่เกิดเหตุตามหลักสากล (FBI) ๑๒ ขั้นตอน

                                          ๔.๑   การจัดเตรียม (Preparation)
                                          ๔.๒   การเขาปฏิบัติงานในสถานที่เกิดเหตุ (Approach scene)

                                          ๔.๓   การปองกันและรักษาสถานที่เกิดเหตุ (Secure and Protect)
                                          ๔.๔   การเริ่มสํารวจเบื้องตน (Initiate preliminary survey)
                                          ๔.๕   การประเมินความเปนไปไดของวัตถุพยาน (Evaluate physical

              evidence)
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56