Page 55 - การสืบสวนสอบสวน
P. 55

๔๘




                                   (๒)    เพื่อพบและยึดสิ่งของซึ่งมีไวเปนความผิด หรือไดมาโดยผิดกฎหมาย
              หรือมีเหตุอันควรสงสัยวาไดใชหรือตั้งใจจะใชในการกระทําความผิด

                                   (๓)    เพื่อพบและชวยบุคคลซึ่งไดถูกหนวงเหนี่ยวหรือกักขัง โดยมิชอบดวย
              กฎหมาย

                                   (๔)    เพื่อพบบุคคลซึ่งมีหมายใหจับ
                                   (๕)    เพื่อพบและยึดสิ่งของตามคําพิพากษาหรือตามคําสั่งศาล ในกรณีที่จะพบ

              หรือจะยึดโดยวิธีอื่นไมไดแลว และหลักประมวลกฎหมายอาญา
                                  ÁÒμÃÒ óó  ในการริบทรัพยสิน นอกจากศาลจะมีอํานาจริบตามกฎหมาย
              ที่บัญญัติไวโดยเฉพาะแลว ใหศาลมีอํานาจสั่งใหริบทรัพยสินดังตอไปนี้อีกดวย คือ

                                   (๑)    ทรัพยสินซึ่งบุคคลไดใช หรือมีไวเพื่อใชในการกระทําความผิด หรือ
                                   (๒)    ทรัพยสินซึ่งบุคคลไดมาโดยไดกระทําความผิด

              เวนแตทรัพยสินเหลานี้เปนทรัพยสินของผูอื่นซึ่งมิไดรูเห็นเปนใจดวยในการกระทําความผิด
                                  ÁÒμÃÒ óô  บรรดาทรัพยสิน
                                   (๑)    ซึ่งไดใหตามความในมาตรา ๑๔๓ มาตรา ๑๔๔ มาตรา ๑๔๙ มาตรา ๑๕๐

              มาตรา ๑๖๗ มาตรา ๒๐๑ หรือมาตรา ๒๐๒ หรือ
                                   (๒)    ซึ่งไดใหเพื่อจูงใจบุคคลใหกระทําความผิด หรือเพื่อเปนรางวัลในการ
              ที่บุคคลไดกระทําความผิด ใหริบเสียทั้งสิ้น เวนแตทรัพยสินนั้นเปนของผูอื่นซึ่งมิไดรูเห็นเปนใจดวย

              ในการกระทําความผิด
                                  ÁÒμÃÒ óö  ในกรณีที่ศาลสั่งใหริบทรัพยสินตามมาตรา ๓๓ หรือ มาตรา ๓๔

              ไปแลว หากปรากฏในภายหลังโดยคําเสนอของเจาของแทจริงวา ผูเปนเจาของแทจริงมิไดรูเห็นเปนใจ
              ดวยในการกระทําความผิด ก็ใหศาลสั่งใหคืนทรัพยสิน ถาทรัพยสินนั้นยังคงมีอยูในความครอบครอง

              ของเจาพนักงานแตคําเสนอของเจาของแทจริงนั้นจะตองกระทําตอศาลภายในหนึ่งปนับแตวัน
              คําพิพากษาถึงที่สุด
                        ขอสังเกต ประการสําคัญของการยึดของกลางประเภทนี้ คือ การตีความเกี่ยวกับคําวาเหตุ

              อันควรสงสัย ซึ่งตองมีหลักฐานขอเท็จจริงพอสมควรที่จะสนับสนุนขออางของเจาพนักงานผูมีหนาที่
              ในการสืบสวนอาญา นอกจากนี้ยังมีขอสังเกตเกี่ยวกับระยะเวลาในการยึด อายัด วาจะมีกําหนด

              ถึงเมื่อใด  เพราะมูลเหตุอันควรสงสัยนั้น  บางครั้งไดสิ้นสุดลงแลว  อํานาจในการยึด  อายัด
              จึงควรจะหมดตามไปดวย เวนแตจะมีขอเท็จจริงอื่นมาสนับสนุนหรือไดเปลี่ยนมูลเหตุอันควรสงสัยเปน

              มูลเหตุจริง
                        นอกจากนี้ยังมีขอสังเกตเกี่ยวกับหลักเกณฑขอนี้ ในเรื่องการคืนหรือสั่งคืนของกลางที่ยึด

              หรืออายัดวาไดกระทําไปโดยมีการตรวจสอบสิทธิ์อยางแนชัดแลวหรือไม  กระทบสิทธิ์ของผูใดหรือไม
              และผูบุคคลนั้นมีสิทธิ์ไลเบี้ยเอากับผูกระทําความผิดอาญาไดหรือไม ซึ่งในกรณีจะเกี่ยวของสัมพันธ

              ดังปรากฏอยูในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60