Page 3 - สารกรมการแพทย์ ฉบับที่ 4
P. 3

ขาว Hot ประเด็นรอน   3



                                                            แพทยผิวหนังชี้

                                                            โรคเพมฟกัส





                                                             “ไมใชโรคติดตอ”










            โรคเพมฟกัสยังไมทราบสาเหตุของโรคที่ชัดเจน แตไมใชโรคติดตอสามารถสัมผัสและอยูใกลชิดผูปวยไดตามปกติ แตตองใช

        ระยะเวลาในการรักษาอยางตอเนื่อง พรอมแนะวิธีดูแลปองกันตัวเองอยางถูกวิธีตามคำแนะนำของแพทย


            นายแพทยสมศักดิ์  อรรฆศิลป  อธิบดีกรมการแพทย เปดเผยวา จากกรณีการเสนอขาวชายวัย 68 ป จากจังหวัดนครราชสีมา

        ปวยเปนโรคผิวหนังชนิดหนึ่ง มีอาการผิวหนังพุพอง เลือดออก และคันทั้งตัว  ซึ่งเจาหนาที่สาธารณสุขจากโรงพยาบาลสงเสริม

        สุขภาพตำบลและสาธารณสุขอำเภอพรอมดวยสหวิชาชีพไดลงพื้นที่เยี่ยมผูปวยรายดังกลาวและนำเขารักษาที่โรงพยาบาลจักราช

        ทั้งนี้ จากขอมูลในพื้นที่พบวาผูปวยมีอาการของโรคในกลุมตุมน้ำพองเรื้อรังซึ่งเกิดจากภูมิตานทานของรางกายทำงานผิดปกติ ทำให
        มีการสรางแอนติบอดีมาทำลายการยึดเกาะของเซลลผิวหนัง ผิวหนังจึงหลุดลอกออกจากกันไดงาย  ประกอบกับปจจัยทางพันธุกรรม

        และปจจัยทางสิ่งแวดลอมมีสวนในการกระตุนโรคดวย โรคนี้พบไมบอยแตจัดเปนโรคผิวหนังที่มีความรุนแรง ผูปวยสวนใหญ

        มีอายุเฉลี่ย 50-60 ป อยางไรก็ตามโรคนี้เกิดไดกับทุกวัย รวมถึงในเด็ก เพศชายและหญิงมีโอกาสเกิดโรคเทากัน ที่สำคัญไมใช

        โรคติดตอ สามารถใชชีวิตรวมกับคนในครอบครัวหรือสังคมได
            แพทยหญิงมิ่งขวัญ วิชัยดิษฐ ผูอำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย กลาวเพิ่มเติมวา โรคผิวหนังในผูปวย

        รายดังกลาว พบวาเปนโรคเพมฟกัส ซึ่งจะมีแผลถลอกเรื้อรังที่บริเวณเยื่อบุในปาก เหงือก กระพุงแกม และมีตุมพองหรือแผลถลอก

        บริเวณผิวหนัง ขยายออกกลายเปนแผนใหญ มีอาการปวดแสบมาก แผลถลอกอาจมีสะเก็ดน้ำเหลือง หากมีการติดเชื้อแทรกซอน

        จะทำใหแผลลุกลามและควบคุมไดยาก ผูปวยโรคเพมฟกัสแตละรายมีความรุนแรงของโรคแตกตางกัน การรักษาจะใหยาสเตียรอยด
        ชนิดรับประทาน โดยใชในขนาดสูง 0.5-1 มิลลิกรัมตอกิโลกรัมตอวัน ผูปวยที่มีความรุนแรงของโรคมาก หรือมีผื่นในบริเวณกวาง

        จำเปนตองไดรับยากดภูมิคุมกันรวมดวย  การรักษามีจุดประสงคในการลดการเกิดตุมน้ำใหมและเรงการสมานแผลใหเร็วที่สุด

        ใชเวลาประมาณ 2-3 สัปดาห แผลจะสมานหากไมมีภาวะแทรกซอน และหลังจากนั้น แพทยจะปรับลดยา โดยใชยาที่นอยที่สุด

        ที่จะควบคุมโรคได ผูปวยบางรายอาจเขาสูระยะโรคสงบหลังรักษา 3 - 5 ป โดยอาจมีอาการโรคกำเริบและสงบสลับกันไป ผูปวยบางราย
        จำเปนตองไดรับการรักษาตอเนื่อง เนื่องจากยังไมสามารถรักษาโรคใหหายขาด คำแนะนำในการปฏิบัติตัว ควรทำความสะอาดรางกาย

        อยางสม่ำเสมอ บริเวณที่เปนแผลใหใชน้ำเกลือทำความสะอาด ไมแกะเกาผื่น เพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อ ผูปวยที่มีแผลในปาก

        ควรงดอาหารรสจัด งดรับประทานอาหารแข็ง เชน ถั่ว ของขบเคี้ยว เนื่องจากอาจกระตุนการหลุดลอกของเยื่อบุในชองปาก

        หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายหนัก ๆ ไมควรใสเสื้อผารัดคับ เพื่อลดการถลอกที่ผิวหนัง หลีกเลี่ยงแสงแดด และความเครียด เปนปจจัย
        กระตุนโรคที่สำคัญ ทั้งนี้ ผูปวยตองมารักษาอยางตอเนื่อง ตามแพทยนัดอยางสม่ำเสมอ อยาลดหรือเพิ่มยาเอง การรับประทานยา

        อยางสม่ำเสมอจะทำใหผูปวยสามารถดำรงชีวิตไดเหมือนคนปกติทั่วไปไมมีรอยโรคใหมเกิดขึ้น



 สารกรมการแพทย                                                              ปที่ 1 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2561  สารกรมการแพทย
   1   2   3   4   5   6   7   8