Page 5 - สารกรมการแพทย์ ฉบับที่ 4
P. 5

คอลัมภพิเศษ    5






                              สถาบันมะเร็งแหงชาติ




                               เตือนกลุมเสี่ยงมะเร็งตับออน




                                    สถาบันมะเร็งแหงชาติ กรมการแพทย เผยโรคมะเร็งตับออนยังไมสามารถตรวจคัดกรองได

                              ในระยะเริ่มแรก แนะปองกันตนเอง โดยงดสูบบุหรี่ ไมดื่มสุรา ควบคุมน้ำหนัก รับประทาน

                              อาหารไขมันต่ำ เนนผักผลไม และที่สำคัญควรตรวจสุขภาพเปนประจำทุกป






             นายแพทยณรงค อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย

        และโฆษกกรมการแพทย กลาววา แมวาโรคมะเร็งตับออน
        จะพบไดไมบอยในคนไทย แตมักพบในผูที่มีอายุตั้งแต 45 ปขึ้นไป

        โดยเฉพาะในเพศชายอายุระหวาง 60 - 65 ป ทั้งนี้ ปจจุบัน
                                                                   นายแพทยวีรวุฒิ อิ่มสำราญ ผูอำนวยการสถาบัน
        ยังไมทราบสาเหตุที่แนชัดของการเกิดโรคมะเร็งตับออน แตพบวา
                                                              มะเร็งแหงชาติ กลาวเพิ่มเติมวา อาการของโรคมะเร็งตับออน
        ปจจัยเสี่ยงที่สำคัญ ไดแก พันธุกรรม โรคอวน รับประทานอาหาร
                                                              เมื่อเริ่มเปนมักไมมีอาการแนชัดขึ้นอยูกับตำแหนงของกอนมะเร็ง
        ไขมันสูง โรคเบาหวาน สูบบุหรี่จัด ดื่มสุราและเปนโรคตับออน
                                                              ในตับออน สวนใหญมักมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง จากการที่
        อักเสบเรื้อรัง โรคมะเร็งตับออนเปนโรคที่อาจพบไดนอย แตเมื่อ
                                                              กอนเนื้องอกโตไปกดเบียดทอน้ำดี หรือมีอาการปวดบริเวณสวนบน
        พบแลวมักอยูในระยะลุกลามและเสียชีวิตอยางรวดเร็ว ปจจุบัน
                                                              ของชองทอง และราวไปดานหลัง เนื่องจากตับออนเปนอวัยวะ
        ยังไมมีวิธีการตรวจคัดกรองที่มีประสิทธิภาพในการคนหา
                                                              ที่วางตัวอยูดานหลังชองทอง ผูปวยสวนใหญเมื่อมีอาการ
        โรคมะเร็งตับออนในระยะเริ่มตน ดังนั้น ควรปองกันตนเอง
                                                              มาพบแพทยมักพบวามะเร็งลุกลามไปมากไมสามารถผาตัด
        โดยงดสูบบุหรี่และไมดื่มสุรา ควบคุมน้ำหนักตัวใหอยูในเกณฑปกติ
                                                              เพื่อหวังผลหายขาดได ในรายที่โรคลุกลามไปอวัยวะขางเคียง
        รับประทานอาหารที่มีไขมันต่ำและผักผลไมมาก ๆ ออกกำลังกาย
                                                              มักกระจายไปที่ตอมน้ำเหลืองและเสนประสาทดานหลังทำให
        เปนประจำ ตรวจสุขภาพเปนประจำทุกป และผูที่อยูในกลุมเสี่ยง
                                                              ผูปวยมีอาการปวดหลังมาก โดยเฉพาะในระยะทายๆ ของโรค
        ควรไดรับการตรวจสุขภาพสม่ำเสมอ
                                                              ผูปวยโรคมะเร็งตับออนจึงมีอัตราการรอดชีวิตต่ำ การรักษา

                                                              มะเร็งชนิดนี้ที่สำคัญที่สุด คือ การผาตัดการรักษามะเร็งตับออน

                                                              จะไดผลคอนขางดีหากสามารถผาตัดเอาเนื้องอกและอวัยวะขางเคียง
                                                              รวมถึงตอมน้ำเหลืองบริเวณนั้นออกไดทั้งหมด อาจมีการรักษา

                                                              เพิ่มเติมโดยเคมีบำบัดหรือรังสีรักษารวมดวยแตมักไมไดผลดี

                                                              สวนในรายที่ไมสามารถผาตัดออกไดหรือผาออกไดไมหมด

                                                              การรักษาอาจเปนการผาตัดระบายน้ำดี หรือทางเดินอาหาร

                                                              และการรักษาแบบประคับประคองตามอาการของผูปวย

                                                                             ปที่ 1 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2561  สารกรมการแพทย
   1   2   3   4   5   6   7   8