Page 4 - สารกรมการแพทย์ ฉบับที่ 4
P. 4

4     คลิกนิก Check-in






         หกลมในผูสูงอายุ…ปองกันงาย ๆ







                                   เริ่มไดที่ตัวเอง







              แพทยเผยยิ่งอายุมากยิ่งเสี่ยงตอการหกลม แนะออกกำลังกายเปนยากันลมที่ดีที่สุด และสามารถปฏิบัติเองได

         โดยไมตองพึ่งผูเชี่ยวชาญ


              นายแพทยปานเนตร  ปางพุฒิพงศ รองอธิบดี                 นายแพทยประพันธ พงศคณิตานนท ผูอำนวยการ
         กรมการแพทย เปดเผยวา ขอมูลจากองคการอนามัยโลกระบุวา สถาบันเวชศาสตรสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร เพื่อผูสูงอายุ


         ผูสูงอายุตั้งแต 65 ปขึ้นไป จะมีแนวโนมหกลมรอยละ 28 - 35 ตอป กรมการแพทย กลาวเพิ่มเติมวา วิธีลดความเสี่ยงของการหกลม
         และจะเพิ่มเปนรอยละ  32 - 42 เมื่อกาวเขาสูปที่ 70 เปนตนไป ที่ไดผลมากที่สุดคือการออกกำลังกาย เพื่อเสริมความแข็งแรง

         เมื่อผูสูงอายุหกลมและกระดูกหักพบวา 1 ใน 5 ไมสามารถกลับมา ของกลามเนื้อ เพิ่มความสามารถในการทรงตัวและการเดิน

         เดินไดอีก และบางสวนตองใชรถเข็นตลอดไป นอกจากนี้ยังพบวา ซึ่งเปนสาเหตุหลักของการหกลมในผูสูงอายุ แนวทางปองกัน
         การหกลมเปนสาเหตุสำคัญของการเขาโรงพยาบาลในผูที่มีอายุ ไมใหเสี่ยงตอการหกลม ไดแก 1. เลือกรองเทาที่เหมาะสม เชน

         65 ปขึ้นไป สรุปไดวาความเสี่ยงของการหกลมจะยิ่งมากขึ้น รูปรางเขากับเทา วัสดุมีความยืดหยุน ระบายอากาศไดดี หุมสน

         เมื่ออายุมากขึ้น โดยเฉพาะผูที่มีอาการกลามเนื้อออนแรงหรือ หรือรัดสนและสนเตี้ย 2. ใชไมเทาในการชวยเดิน 3. ออกกำลังกาย

         มีโรคประจำตัว เชน อัมพฤกษ อัมพาต หรือมีปญหาเรื่องการทรงตัว ที่เหมาะสมกับตนเองอยางสม่ำเสมอ การปองกันการหกลม

         การลมในผูสูงอายุเกิดจากหลายสาเหตุไมวาจะเปนกระดูกหรือ ดวยวิธีการออกกำลังกาย เพื่อใหผูสูงอายุและผูดูแลสามารถ
         กลามเนื้อไมแข็งแรง มีปญหาสายตา การกินยาที่ออกฤทธิ์ตอ นำไปปฏิบัติเองไดโดยไมตองพึ่งผูเชี่ยวชาญ ยกเวนบางรายที่มี

         จิตประสาททำใหงวงซึม รวมทั้งสภาพแวดลอมภายในบาน ความจำกัดใหเลือกวิธีออกกำลังกายอยางงายหรือปรึกษาแพทย

         ที่ไมเหมาะสม ทั้งนี้ การหกลมในผูสูงอายุอาจกระทบตอสุขภาพ ตามความจำเปน นอกจากการออกกำลังกาย พบวาการปรับเปลี่ยน
         คุณภาพชีวิต กอใหเกิดความพิการ หรือแมกระทั่งเปนสาเหตุ สิ่งแวดลอมภายในบานโดยผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบบาน

         การเสียชีวิต                                          เพื่อผูสูงอายุ การผาตัดตอกระจกในผูสูงอายุที่มีปญหาการมองเห็น

                                                               จากโรคตอกระจก การใหวิตามินดีเสริมในผูสูงอายุที่มีวิตามินดีพรอง

                                                               และการหยุดยาที่มีผลตอจิตประสาททำใหงวงซึมหรือสูญเสีย

                                                               การทรงตัว เปนวิธีการที่จะชวยปองกันไมใหผูสูงอายุเสี่ยงตอ
                                                               การหกลม แตอยางไรก็ตามวิธีการเหลานี้ควรไดรับการปรึกษา

                                                               จากผูเชี่ยวชาญหรือแพทยกอนที่ผูสูงอายุจะดำเนินการ

                                                               ดวยตนเอง





         สารกรมการแพทย  ปที่ 1 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2561
   1   2   3   4   5   6   7   8