Page 4 - สารกรมการแพทย์ ฉบับที่ 3
P. 4

คลิกนิก Check-in
         4








        ปวดบริเวณนอง




          ไมใชโรคขอเขาเสื่อม






                   แพทยเผยอาการปวดบริเวณนอง เปนการบาดเจ็บของกลามเนื้อดานหลังตนขา ไมใชขอเขาเสื่อม พบไดบอย

         ในนักกีฬา เชน ฟุตบอล บาสเก็ตบอล นักวิ่ง นักเตน เหตุจากใชกลามเนื้อมากเกินไปทำใหบางสวนฉีกขาดและอักเสบ


                                        นายแพทยณรงค  อภิกุลวณิช

                                        รองอธิบดีกรมการแพทย

                                            เปดเผยวา อาการปวดบริเวณนอง เปนการบาดเจ็บของกลามเนื้อดานหลังตนขาบริเวณใกลนอง

                                        ซึ่งเกิดจากการใชงานของกลามเนื้อมากเกินไป ทำใหอักเสบ เชน การวิ่งเร็วหรือการวิ่งเร็ว
                                        สลับกับหยุดวิ่งแบบฉับพลันอยางตอเนื่อง การเลนกีฬาประเภทวิ่งหรือกระโดด ซึ่งพบไดทั่วไป

                                        โดยเฉพาะนักวิ่ง นักกีฬา นักเตนรวมถึงการนั่งทำงานเปนเวลานานทำใหเกิดการแพลงหรือ
                                        อักเสบไดงาย ซึ่งระดับความรุนแรงจากการอักเสบแบงเปนระดับเล็กนอยและหายไดจนถึง

                                        กลามเนื้อฉีกขาดทั้งหมดและใชเวลานานในการรักษา สำหรับอาการที่พบจากการบาดเจ็บ
                                        ของกลามเนื้อดานหลังตนขาคือ ปวดแปลบที่กลามเนื้อตนขาแบบเฉียบพลัน บวมในชวง

                                        2-3 ชั่วโมงแรกหลังไดรับบาดเจ็บ ฟกช้ำหรือมีสีผิดปกติที่ขาดานหลังใตหัวเขาในชวง
                                        2-3 วันแรกและกลามเนื้อดานหลังตนขาออนแรงนานเปนสัปดาห


                                                 นายแพทยสมพงษ  ตันจริยภรณ

                                    ผูอำนวยการโรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย

              กลาววา การรักษาผูที่มีอาการปวดบริเวณนองเพื่อซอมแซมการฉีกขาดภายในกลามเนื้อ

          แบงออกเปน 3 วิธี วิธีแรกคือการรักษาแบบไมผาตัด โดยหยุดกิจกรรมที่ทำใหเกิดการ

          อักเสบเพิ่มขึ้นใชถุงน้ำแข็งประคบประมาณ 20 นาที อยาใหน้ำแข็งสัมผัสกับผิวหนังโดยตรง
          แลวพันขอดวยผาพันแบบยืดหยุน และนอนพักยกขาใหสูงเหนือหัวใจเพื่อลดอาการบวม
          วิธีที่สองคือ การรักษาโดยกายภาพบำบัด ดวยการเหยียดแบบเบา ๆ ชวยฟนฟูชวงการงอยืด

          และออกกำลังเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อ และวิธีสุดทายคือ การรักษาดวยการผาตัด

          เมื่อเสนเอ็นฉีกขาดจากกระดูกอยางสมบูรณ และเพื่อซอมแซมการฉีกขาดภายในกลามเนื้อ
          สำหรับการปองกันสามารถทำไดโดยอบอุนรางกาย ยืดเหยียดกลามเนื้อ และผอนคลาย
          กลามเนื้อ กอนและหลังเลนกีฬา ควบคุมน้ำหนักใหอยูในเกณฑปกติ ดื่มน้ำใหเพียงพอ และปองกันการขาดน้ำซึ่งเปนสาเหตุของ

          การเกิดตะคริว ทานอาหารใหครบ 5 หมู ออกกำลังกายและหมั่นเคลื่อนไหวรางกายเปนประจำ เพื่อเพิ่มความแข็งแรง อีกทั้ง

          เสริมความยืดหยุนใหแกกลามเนื้อดานหลังตนขา


         สารกรมการแพทย  ปที่ 1 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม 2561
   1   2   3   4   5   6   7   8