Page 67 - ชุดการสอน ภาคินี 08
P. 67

Coal  and  Steel  Community-ECSC)  ประชาคมเศรษฐกิจ ยุโรปหรือตลาดรํวมยุโรป (European  Economic

            Community-EEC) และประชาคมพลังงาน ปรมาณแหํงยุโรป (European Atomic Energy Community-EAEC or

            EURATOM) โดยจัด ตั้งขึ้นเพื่อยกระดับทางเศรษฐกิจของประเทศตําง ๆ ในทวีปยุโรปให๎ดีขึ้น โดยอาศัยความรํวมมือ

            ของประเทศสมาชิก ซึ่งเดิมมีสมาชิกดั้งเดิมเพียง 6 ประเทศ คือ ฝรั่งเศส เยอรมนี เบลเยียม อิตาลี ลักเซมเบิร์ก และ

            เนเธอร์แลนด์ ตํอมามีสมาชิกเพิ่มขึ้นอีก 21 ประเทศ ได๎แกํ เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร กรีซ โปรตุเกส

            สเปน ออสเตรีย ฟินแลนด์ สวีเดน ไซปรัส เซีย เอสโตเนีย ฮังการี ลัตเวีย ลิทัวเนีย มอลตา โปแลนด์ สโลวาเกีย


            สโลวีเนีย บัลแกเรีย และไรมาเนียง ปัจจุบันมีสมาชิกรวมทั้งสิ้น 27 ประเทศ อยํางไรก็ตาม ประเทศสมาชิกใหมํจะต๎อง

            ยกเล็ก กฎหมาย ระเบียบ และมาตรการที่ใช๎อยูํเดิม โดยหันมาใช๎กฎหมาย ระเบียบ และมาตรการของ สหภาพยุโรป

            แตํประเทศสมาชิกใหมํเหลํานี้จะยังไมํได๎รับสิทธิทุกประการเทํากับประเทศสมาชิก เดิม เชํน ประชาชนของ 10

            ประเทศสมาชิกใหมํไมํสามารถอพยพย๎ายถิ่นเข๎าไปในประเทศสมาชิก เดิมได๎ จนกวําประเทศเหลํานี้จะเป็นสมาชิก

            สหภาพยุโรปแล๎ว 7 ปี


            1. วัตถุประสงค์ของสหภาพยุโรป วัตถุประสงค์ในการกํอตั้งสหภาพยุโรปมี 3 ประการ ดังนี้


            ประการแรก คือ การรวบรวมระบบเศรษฐกิจ ความรํวมมือในการพัฒนาสังคม และ การปกครองแบบประชาธิปไตย


            ของประเทศสมาชิกให๎เป็นอันหนึ่งอันเดียว


            ประการที่สอง คือ การยกระดับการดํารงชีวิตของประชากรชาวยุโรปให๎ดีขึ้น


            ประการที่สาม คือ การจัดตั้งสหภาพศุลกากรโดยการขจัดอุปสรรคตําง ๆ ทางการค๎า ระหวํางประเทศ


            2. ผลกระทบของความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ของประเทศไทยกับสหภาพยุโรป



                    ผลกระทบของความรํวมมือทางเศรษฐกิจ ของประเทศไทยกับสหภาพยุโรป สรุปได๎ดังนี้


            1) ประเทศไทยให๎ความสําคัญกับสหภาพ ยุโรป เนื่องจากเป็นมหาอํานาจทางเศรษฐกิจ และเป็นตลาดขนาดใหญํด๎วย

            จํานวนประชากร


            เกือบ 500 ล๎านคน มีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน อาคารสํานักงานใหญํสหภาพยุโรป ประเทศปีละประมาณ 12,000


            พันล๎านยโร และ


            ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม เป็นภูมิภาคที่มีอํานาจซื้อสูงที่สุดในโลก สหภาพยุโท จึงเป็นตลาดใหญํในเวทีการค๎า

            โลกที่มีอํานาจตํอรองสูงและมีบทบาทในการกําหนดทิศทางการค๎า ระหวํางประเทศ โดยเป็นผู๎นําด๎านกฎระเบียบและ

            นโยบายด๎านการค๎าและที่มิใชํการค๎าที่สําคัญของ lan (global standards setter)
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72