Page 62 - ชุดการสอน ภาคินี 08
P. 62
3.3.1 กลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย
ในภูมิภาคเอเชียมีกลุํมทางเศรษฐกิจที่สําคัญหลายกลุํม ในที่นี้จะกลําวถึงกลุํมเอเปกหรือ ความรํวมมือทางเศรษฐกิจ
เอเชีย-แปซิฟิก สมาคมประชาชาติแหํงเอเชียตะวันออกเฉียงใต๎ และ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สรุปได๎ดังนี้
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก
ความรํวมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก หรือ
เอเปก (Asia-Pacific Economic Cooperation-APEC)
กํอตั้งขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ณ กรุง
แคนเบอร์รา ประเทศ ออสเตรเลีย เนื่องจากเล็งเห็นวํา
ประเทศในภูมิภาคนี้ ประกอบด๎วยประเทศมหาอํานาจทาง
เศรษฐกิจ และประเทศที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่
สูงที่สุดในโลก และถือเป็นตลาดใหญํที่มีศักยภาพ ในการ
ขยายการค๎าและการลงทุนระหวํางกัน ประกอบกับความยืดเยื้อ ผู๎นําประเทศกับการประชุมประจําปีของเอเปค
ของการเจรจาการค๎าหลาย ฝุายรอบอุรุกวัย (Uruguay Round) ทําให๎ประเทศมหาอํานาจอยํางเชํน สหรัฐอเมริกา
และ ออสเตรเลีย ซึ่งต๎องพึ่งพาการค๎าระหวํางประเทศมาก ต๎องการให๎การเจรจาการค๎ารอบอุรุกวัย ประสบผลสําเร็จ
โดยเร็ว เพื่อให๎การค๎าโลกมีการเปิดเสรีมากยิ่งขึ้น จึงจัดตั้งเอเปกขึ้น ปัจจุบันเอเปก มีสมาชิกทั้งสิ้น 21 เขตเศรษฐกิจ
ประกอบด๎วยออสเตรเลีย บรูไนดารุสซาลาม แคนาดา ชิลี จีน รัสเซีย ฮํองกง อินโดนีเซีย ญี่ปุุน เกาหลีใต๎ มาเลเซีย
เม็กซิโก นิวซีแลนด์ ปาปัวนิวกินี เปรู ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไต๎หวัน ไทย สหรัฐอเมริกา และเวียดนาม
หลักการความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก หลักการความรํวมมือของเอเปก มี 3 ประการ
ประการแรก หลักการเป็นเวทีสําหรับปรึกษาหารือเกี่ยวกับประเด็นทางเศรษฐกิจ
ประการที่สอง หลักฉันทามติในการดําเนินการใด ๆ โดยยอมรับความเสมอภาคของ ประเทศสมาชิก
ประการที่สาม หลักผลประโยชน์รํวมกัน โดยคํานึงถึงความแตกตํางของระดับการพัฒนา ทางเศรษฐกิจ ระบบสังคม
และการเมืองการปกครองของประเทศสมาชิก
2. วัตถุประสงค์ของความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก วัตถุประสงค์ในการกํอตั้งองค์การความรํวมมือทาง
เศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก มี 3 ประการ ประการแรก คือ การพัฒนาและสํงเสริมระบบการค๎าในระดับพหุภาคี ประการ
ที่สอง คือ การสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของภูมิภาคและของโลก