Page 63 - ชุดการสอน ภาคินี 08
P. 63
ประการที่สาม คือ การลดอุปสรรคและอํานวยความสะดวกทางการค๎าให๎สินค๎าและบริการ รวมถึงการลงทุนระหวําง
ประเทศสมาชิกเป็นไปโดยเสรีและสอดคล๎องกับกฎเกณฑ์ขององค์การ การค๎าโลก
3. ผลกระทบของความร่วมมือทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกับความร่วมมือทางเศรษฐกิจ เอเชีย-แปซิฟิก
ของความรํวมมือทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกับความรํวมมือทางเศรษฐกิจ เอเชีย-แปซิฟิก สรุปได๎ดังนี้
1) ขยายโอกาสหรือลูํทางการค๎าและการลงทุนในกลุํมประเทศสมาชิก ซึ่งเป็นผลมาจาก การลดอุปสรรคทั้งที่เป็นภาษี
และมิใชํภาษี
2) ได๎รับประโยชน์จากโครงการความรํวมมือตําง ๆ เชํน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การถํายทอดเทคโนโลยี การ
พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยํอม
3) เป็นโอกาสสําหรับประเทศไทยในการเจรจาตํอรองในเวทีเอเปกเพื่อผลประโยชน์ของ ประเทศ และเอเปกยัง
สามารถเพิ่มอํานาจในการตํอรองในเวทีองค์การการค๎าโลกได๎
อยํางไรก็ตาม แม๎วําประเทศไทยจะได๎รับประโยชน์หลายประการ แตํการเปิดเสรียํอมจะ สํงผลกระทบตํออุตสาหกรรม
ไทย โดยเฉพาะอุตสาหกรรมประเภทที่ไมํคํอยมีประสิทธิภาพ ดังนั้น จึงจําเป็นที่จะต๎องมีการปรับตัวในหลาย ๆ ด๎าน
ทั้งในด๎านโครงสร๎างการผลิต ตลอดจนการใช๎ เทคโนโลยีที่สูงขึ้น เพื่อให๎ประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มมากขึ้น
2 .สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สมาคมประชาชาติแหํงเอเชียตะวันออกเฉียงใต๎ หรืออาเซียน (Association of Southeast Asian Nations-
ASEAN) เป็นองค์กรทางภูมิรัฐศาสตร์และองค์การความรํวมมือทางเศรษฐกิจ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต๎ มี
ประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได๎แกํ ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไนดารุสซาลาม ลาว
กัมพูชา เวียดนาม และพมํา อาเซียน พื้นที่ราว 4.5 ล๎านตารางกิโลเมตร มีประชากรกวําประชากรกวํา 600 ล๎านคน
โดยใช๎ภาษาอังกฤษเป็น ภาษาราชการ
เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดย อาเซียนถือกําเนิดขึ้นจากสมาคมอาสา ซึ่งกํอตั้งขึ้นเมื่อเดือน ไทย มาเลเซีย
และฟิลิปปินส์ แตํได๎ถูกยกเลิกไป ตํอมาได๎ถือกําเนิดขึ้นโดยมีสมาชิกเริ่มต๎น 5 ประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อความรํวมมี
มอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม วัฒนธรรมในกลุํมประเทศสมาชิก 2 การงรักษาสันติภาพและความ
มั่นคงในภูมิภาค รวมถึงเปิดโอกาสให๎คลายข๎อพิพาทระหวําง สมาชิกอยํางสันติ หลังจาก พ.ศ. 2527 เป็นต๎นมา
อาเซียนมีจํานวนสมาชิกเพิ่มขึ้น