Page 41 - sutthida
P. 41

สหกรณ์พึงให้การศึกษา และการฝึกอบรมแก่มวลสมาชิก ผู้แทนจากการเลือกตั้ง ผู้จัดการและพนักงาน เพื่อ

               บุคคลเหล่านั้นสามารถมีส่วนช่วยพัฒนา สหกรณ์ของตนได้อย่างมีประสิทธิผล และสามารถให้ข่าวสารแก่
               สาธารณชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งแก่เยาวชน และบรรดาผู้น าทางความคิดในเรื่องคุณลักษณะ และคุณประโยชน์

               ของสหกรณ์ได้

               6. การร่วมมือระหว่างสหกรณ์
               สหกรณ์สามารถให้บริการแก่สมาชิกได้อย่างมีประสิทธิผลสูงสุด และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ขบวนการ

               สหกรณ์ได้ โดยการประสานความร่วมมือกันในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ
               7. ความเอื้ออาทรต่อชุมชน

               สหกรณ์พึงด าเนินกิจกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชน ตามนโยบายที่มวลสมาชิกให้ความเห็นชอบ

                    ประวัติควำมเป็นมำของสหกรณ์
                    สหกรณ์ถือก าเนิดขึ้นในยุโรปในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม และเกษตรกรรมที่ต้องใช้ที่ดินจ านวนมาก การ

               กว้านซื้อที่ดินส่งผล ให้ประชาชนชั้นรากฐานไร้ที่ดินท ากิน ละทิ้งถิ่นฐานเข้าไปขายแรงงานในเมืองหลวง ความ
               ยากจนยิ่งโหมกระหน่ า จากสังคมที่เคยเกื้อกูลดังเช่นในชนบทได้จางหายไปทุกคนต้องต่อสู้ดิ้นรนเอา ตัวรอด

               ถึงกระนั้นความพยายามแสวงหาวิธี สร้างสังคมใหม่ควบคู่กันไปกับระบบเศรษฐกิจที่ ยั่งยืนได้ใช้เวลาเนิ่นนาน

               จึงคิดค้นวิธีการได้ส าเร็จ เรียกว่า" การสหกรณ์ " และถือว่า โรเบิร์ด โอเวน เป็นบิดาสหกรณ์โลก
                   ควำมส ำคัญของสหกรณ์

               สหกรณ์มีความส าคัญต่อชุมชน ประเทศชาติและสังคมโลก คือ สหกรณ์สามารถช่วยแก้ปัญหาความยากจน ขัด

               เกลาให้สมาชิกเป็นคนดี มีศีลธรรมและการเสียสละเพื่อส่วนรวม ความส าคัญของสหกรณ์สามารถจ าแนกเป็น
               ด้านดังนี้

               - ด้ำนเศรษฐกิจ มีบทบาทในการส่งเสริมอาชีพ ท าให้คนในชุมชนมีงานท ามีรายได้ ส่งเสริมการออมทรัพย์ ให้
               กู้ยืมในอัตราดอกเบี้ยต่ า เกิดการขยายธุรกิจการค้า เป็นต้น

               - ด้ำนสังคม มีบทบาทในการพัฒนาชุมชน สังคมและประเทศชาติให้เข้าแข็ง ช่วยเหลือผู้อ่อนแอ ยากไร้ให้

               สามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้ สร้างสวัสดิภาพสังคมและบริการสาธารณะให้กับชุมชน เป็นต้น
               - ด้ำนศีลธรรม มีบทบาทในการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม ให้สมาชิกรู้จักช่วยเหลือ แบ่งปันกัน แบ่ง

               ผลตอบแทนกันอย่างยุติธรรม เป็นต้น
               - ด้านการปกรอง มีบทบาทในการส่งการปกครองระบอบประชาธิปไตย เพราะหลักการด าเนินกิจการของ

               สหกรณ์ยึดหลักประชาธิปไตย

               - ด้ำนกำรศึกษำ มีบทบาทในการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ จัดอบรมให้ความรู้ด้านต่างๆ
                     สหกรณ์ในประเทศไทย

               1.  สหกรณ์กำรเกษตร

               สหกรณ์การเกษตร  คือ สหกรณ์ที่จัดตั้งขึ้นในหมู่ผู้มีอาชีพทางการเกษตร รวมกันจัด ตั้งขึ้นและจดทะเบียน
               เป็นนิติบุคคลต่อนายทะเบียนสหกรณ์  โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้สมาชิกด าเนินกิจการร่วมกันและช่วยเหลือซึ่ง
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46