Page 38 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 38
37
3.2.6 มีควำมใส่ใจ (Concern) นอกจากการเจริญเติบโตและความอยู่รอด
ของธุรกิจแล้ว ผู้ประกอบการจะต้องใส่ใจต่อสถานการณ์ของธุรกิจ หมั่นตรวจสอบสภาพแวดล้อม
ถึงการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นคู่แข่งขันหรือตลาดโลก โดยเฉพาะการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค
3.2.7 เงินทุน (Capital) ถึงแม้ธุรกิจขนาดเล็กจะไม่ต้องการเงินลงทุน
มหาศาลเท่ากับ ธุรกิจขนาดใหญ่แต่ผู้ประกอบการต้องแน่ใจว่ามีเงินลงทุนมากเพียงพอที่จะก่อตั้ง
ธุรกิจได้มีเงินส าหรับตนเองในการ ด ารงชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานะ และยังมีเงินสดมาก
เพียงพอที่จะรักษาสภาพคล่องได้อย่างน้อย 1 ปีแรก
3.2.8 มีควำมต่อเนื่อง (Continuous) นอกเหนือจากต้องมุ่งมั่นท างาน
แล้ว ผู้ประกอบการ ต้องหมั่นเพิ่มพูนพัฒนาทักษะและความช านาญของตนเองอย่างต่อเนื่องและ
ต้องศึกษาเทคนิคการบริหารรูปแบบ ใหม่ ๆ เพื่อปรับใช้อย่างเหมาะสม
3.2.9 มีเครือข่ำยสัมพันธ์ (Connection) การมีเครือข่ายที่ดีจะช่วยให้
การติดต่อ ด าเนินกิจการใด ๆ ได้สะดวกขึ้น การที่มีผู้ที่รู้จักสามารถชี้แนะและช่วยติดต่อกับ
บุคคลหรือช่องทางที่ถูกต้อง จะช่วยลดระยะเวลาในการค้นหาเส้นทางที่ถูกต้องด้วยตนเองได้
อย่างมาก เครือข่ายความสัมพันธ์สามารถช่วย น าไปสู่ตลาดใหม่ แนะน าแหล่งผลิตที่ดี แนะน า
ลูกค้าใหม่ให้ แนะน าผู้ที่มีอ านาจในการตัดสินใจได้ทันทีและ แนะน าช ่าองทางในการ
ประชาสัมพันธ์ธุรกิจได้
4. หน้ำที่ของผู้ประกอบกำรในกำรด ำเนินธุรกิจ ปัจจุบันธุรกิจมักจะเกิดใน
รูปแบบ ใหม่ ๆ อยู่เสมอโดยเฉพาะในยุคโลกาภิวัตน์ที่มีเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นแรงผลักดัน
ส าคัญ ที่ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การด าเนินงานระหว่าง
ประเทศ การแข่งขันทางธุรกิจ ดังจะ เห็นได้จากการด าเนินชีวิตแบบใหม่ ในรูปของพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งท าให้ทุกคนจะต้องปรับตัวตามให้ทัน แต่ถึงแม้จะเกิดการเปลี่ยนแปลงและ
รูปแบบของธุรกิจ แต่ผู้ประกอบการต่างก็ท ากิจกรรมหรือหน้าที่ทางธรกิจ ที่เหมือน ๆ กัน โดยมี
หน้าที่ส าคัญ ๆ ดังต่อไปนี้
4.1 กำรผลิตและกำรปฏิ บัติกำร (Production and
Operations) เป็นงานส าคัญในการ ค้างสินค้าและบริการของธุรกิจ ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับ
การหารายได้ ก าไร และการด ารงอยู่ขององค์กร
ก าหนดก าลังการผลิต การสร้างโรงงาน การวางผังการด าเนินงาน การออกแบบสินค้า การ
วางแผนการ ด าเนินการและการควบคุมการผลิตตามเป้าหมายที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ
และคุณภาพตามมาตรฐาน อย่างต่อเนื่อง หรือเป็นกระบวนการส าคัญที่เชื่อมต่อผู้ขายวัตถุดิบ
(Supplies) เกี่ยวกับการกระจายสินค้าหรือ บริการไปสู่ลูกค้าในห่วงโซ่การจัดซื้อจัดส่ง
(Supply Chain) โดยเพิ่มมูลค่าให้แก่ปัจจัยน าเข้าจนกว่าจะถึงมือ ของผู้บริโภค