Page 152 - report-06-final-ลายนำ_Neat
P. 152
่
้
หนา ๑๔๒ ส่วนที ๔
รวมกนจ่ายระหวางนายจ้างและลูกจ้าง โดยการดําเนินงานของโครงการประกันสังคมจะ
ั
่
่
ั
ั
ี
ิ
บรหารงานโดยสํานักงานประกนสังคม ต่อมาในป พ.ศ. ๒๕๔๙ รฐบาลเวียดนามตรากฎหมาย
ั
สิทธิประกนสังคม (Social Insurance) ขึน โดยกฎหมายใหมเปนการรวบรวมกฎหมายที ่
่
้
็
ั
่
ั
่
ั
็
ี
ู
่
็
่
่
เกยวกบการประกนสังคมเดิมทีมอยอยางไมเปนระบบให้เปนกฎหมายฉบบเดียวและในปัจจุบัน
ี
ี
ั
ี
้
นีกฎหมายประกนสังคมฉบบป พ.ศ. ๒๕๔๙ ดังกล่าวได้ถูกยกเลิกและมการตรากฎหมาย
ั
่
ี
ึ
ื
้
ึ
ประกนสังคมขนใหมเมอป พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึงใช้บงคบมาจนถงทุกวันนี ้
ั
่
ั
่
ั
ี
ั
สาระสําคญของกฎหมายประกันสังคมของเวยดนาม (ฉบับปี พ.ศ. ๒๕๕๗)
วัตถุประสงคของกฎหมายประกนสังคม มขึนเพือรบรองสิทธิและหน้าทีของนายจ้าง
์
่
ั
ี
ั
้
่
ั
ุ
่
ั
และลูกจ้าง หน่วยงาน นิติบคคล และบคคลทีเกยวข้องกบประกนสังคม ในมาตรา ๒ ของ
่
ุ
ี
่
ั
ุ
่
กฎหมายได้ระบถึงบคคลทีได้รบสิทธิและหน้าทีตามกฎหมายซึงประกอบด้วย ลูกจ้างสัญชาติ
ุ
่
เวียดนามทังในภาคเอกชนและภาครฐ แรงงานต่างชาติซึงทํางานโดยมีใบอนุญาต ทังนี ้
่
้
้
ั
ประกนสังคมได้รบรองถึงสิทธิทีจะได้รบเงนชดเชยในกรณี ปวย ลาคลอด อุบติเหตุจากการ
ั
ั
ั
่
ิ
่
ั
่
ั
ทํางาน และคาชดเชยใหกบทายาทในกรณีเสียชีวิต โดยทีระบบประกนสังคมเวียดนามจะใช้
่
้
ั
่
ระบบรวมกนจ่ายระหว่างนายจ้างและลกจ้างโดยลกจ้างมสิทธิทีจะได้รับการประกันตามทีระบุ
ี
่
ั
ู
่
ู
ไว้ในกฎหมาย มสิทธิทีจะจัดการบญชีประกนสังคมของตน สิทธิในการได้รบคาใช้จ่ายในการ
ั
ั
่
ั
่
ี
ตรวจสุขภาพจากนายจ้าง และได้รบข้อมลสิทธิและการให้ความช่วยเหลือจากทังนายจ้างและ
ู
ั
้
สํานักงานประกนสังคม โดยลูกจ้างมหน้าทีทีจะต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนและทําตาม
่
ั
ี
่
้
้
ี
ู
กฎระเบียบของกองทุนและมสิทธิในการฟ้องรองคดี นอกจากนัน ในกรณีทีลูกจ้างอยใน
่
่
่
ั
ั
่
สถานการณ์จ้างทีกฎหมายไมได้บงคบให้เข้ารวมระบบประกนสังคม กฎหมายเปิดช่องให้ลูกจ้าง
ั
่
สามารถเข้ารวมประกนสังคมได้โดยติดต่อสมัครได้ทีสํานักงานประกันสังคมเมือสมัครแล้ว
ั
่
่
่
่
ํ
ุ
ิ
ื
จ่ายเงนเข้ากองทุนตามหลักเกณฑ เมอเกษียณอายการทํางานก็จะได้รบเงนบานาญและในกรณี
ั
ิ
์
ั
่
ิ
่
ิ
ทีลูกจ้างทีจ่ายเงนเข้ากองทุนประกนสังคมแล้ว ๖๐ เดือน หากเสียชีวิตลงทายาทจะได้รบเงน
ั
้
่
ื
สําหรบใช้จ่ายในการจัดงานศพและค่าชดเชย ทังนี การดําเนินการต่าง ๆ ในเรองของการบริหาร
้
ั
ั
่
จัดการระบบประกนสังคม จะเป็นหน้าทีและอํานาจของสํานักงานประกนสังคม ในการ
ั
์
ี
ุ
่
ดําเนินการและบรหารนโยบายและใช้เงนในกองทนต่าง ๆ ทีมเพือให้เกดประโยชนสูงสุด โดยจะ
ิ
ิ
ิ
่
่
มการตังคณะกรรมการบรหารซึงมาจากภาคส่วนต่าง ๆ เช่น ตัวแทนจากนายจาง ลูกจ้าง และ
้
ี
้
ิ
ตัวแทนจากภาคสาธารณสุขเพราะสํานักงานประกนสังคมมหน้าทีต้องบรหารกองทุนประกน
่
ั
ิ
ั
ี
สุขภาพของเวียดนาม อีกด้วย
์
ุ
ั
ั
ึ
่
๒) สรปผลการศกษาดูงานด้านความสัมพนธระหวางประเทศและแนวทางการพฒนา
ความรวมมอด้านการสาธารณสุข ณ สถานกงสุลใหญ่ นครโฮจมนห์
ิ
ิ
ื
่
่
่
สถานกงสุลใหญ ณ นครโฮจิมนห์ ตังอยที ถนนเจิน กวก ถาว (Tran Quoc Thao)
่
่
ู
๊
ิ
้
เขต ๓ นครโฮจิมินห์ ทีดินเป็นกรรมสิทธิของรัฐบาลไทย มีเนือทีประมาณ ๑ ไร่ ๓ งาน
์
้
่
่
้
็
๘๕ ตารางวา ระหว่างป พ.ศ. ๒๔๙๕-๒๕๑๘ สถานทีแห่งนีเคยเปนสถานเอกอัครราชทตไทย
ี
ู
่