Page 157 - report-06-final-ลายนำ_Neat
P. 157
่
้
ส่วนที ๔ หนา ๑๔๗
่
ื
ี
่
็
ู
ี
์
Telemedicine หรอทีเรยกว่า“แพทยทางไกล” ได้อยางเปนรปธรรมและมประสิทธิผล
้
่
มากยงขึน
ิ
ในส่วนของระบบการรกษาพยาบาลของเวยดนามใช้ระบบประกนสังคมเปนหลักโดย
็
ั
ั
ี
็
่
่
ั
ั
่
ั
เปนการรวมจ่ายคารกษาพยาบาลระหว่างนายจ้างกบลูกจ้าง ซึงรฐจะดูแลช่วยเหลือคา
่
ั
่
ุ
่
รกษาพยาบาลให้แกบคคลทีไมมงานทําซึงไม่ได้เป็นผูประกันตนเป็นจํานวนเงิน ๓๐ ดอลลาร์
ี
่
้
่
่
้
ี
สหรฐอเมรกาต่อคนต่อป เท่านัน ดังนัน จึงทําให้คนเวียดนามทัวไปยังนิยมรกษาพยาบาลที ่
้
ิ
ั
ั
่
ั
่
่
ั
่
โรงพยาบาลของรฐ เนืองจากมีคาใช้จ่ายทีถูกกว่ามาก ส่วนกลุมชนชันกลางมกจะนิยม
้
่
่
่
ั
่
รกษาพยาบาลทีโรงพยาบาลเอกชน เนืองจากมีบริการทีดีและเครืองมือทางการแพทย์ทีทันสมัย
่
ั
่
ั
โรงพยาบาลของรฐและเอกชนหลายแห่งมสัญญาความรวมมอเพือให้ผูปวยบางรายหลงการ
่
้
่
ี
ื
่
ั
้
ั
่
ั
ื
รกษาในโรงพยาบาลของรัฐจะถูกยายไปยงโรงพยาบาลเอกชนเพือรบการรกษาต่อไป ซึงในเรอง
่
ั
ึ
ั
ดังกล่าว ได้ทําการศกษาจากการดําเนินโครงการหลักประกนสุขภาพแห่งชาติของไทย รวมทัง
้
ั
่
้
ั
ั
ระบบประกนสังคมของไทย ซึงสามารถให้ผูใช้สิทธิตามระบบดังกล่าวเข้ารบการรกษา
ทีโรงพยาบาลเอกชนได้ ทังนี ประเทศไทยได้ดําเนินการในระบบหลักประกนสุขภาพถวนหน้า
้
้
้
ั
่
ั
่
็
่
็
จนเปนผลสําเรจ แมไทยอยในกลุมประเทศรายได้ปานกลางกตาม และยงได้รบการยกยองจาก
่
็
ู
้
ั
่
็
นานาประเทศให้เปนต้นแบบของการดําเนินการระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าทีสร้างความ
่
้
ครอบคลุมและทัวถึง นับว่ามประสิทธิภาพและประสิทธิผลอยางยง ทังยงเปนระบบทีรกษา
่
ิ
ี
่
ั
ั
็
่
ิ
ิ
้
้
้
ั
้
ความสมดุลและสรางความเป็นธรรมระหว่างผูให้บรการและผูรบบรการ ดังนัน เวียดนามจงใช้
ึ
ี
ประเทศไทยเป็นตัวอยางการเรยนรในด้านต่าง ๆ เพือพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพของ
่
่
้
ู
ั
ุ
ประเทศ ซึงขณะนีระบบหลักประกนสุขภาพของเวียดนามสามารถครอบคลมประชากรราวรอย
่
้
้
้
้
้
ี
ละ ๘๐ ของประชากรในประเทศ และตังเปาหมายให้ประชากรเวียดนามทังหมดมหลักประกน
ั
ุ
้
่
่
่
้
สุขภาพถวนหน้าดูแลภายใน ๕ ปนับจากนี ซึงกลไกในการควบคมคาใช้จ่าย การจัดระบบจาย
ี
้
่
ชดเชย และการตรวจสอบทีเข้มแข็งเปนส่วนสําคัญทีเวียดนามได้ศึกษาเรียนรูจากไทย โดยใน
็
่
ู
ั
ิ
ิ
ส่วนการจ่ายชดเชยคาบรการให้กบหน่วยบรการ เวียดนามได้ดําเนินการใน ๓ รปแบบ
่
ิ
ั
ื
ั
เช่นเดียวกบไทย คอ ๑) การจ่ายตามจรง ๒) การเหมาจ่ายรายหว และ ๓) การจ่ายตามรายการ
่
่
กลุมวินิจฉัยโรครวม (Diagnostic related group: DRG) โดยระบบ DRG เวียดนามได้พัฒนา
ั
ั
่
ในระดับที ๑ แล้ว แต่ด้วยในทางปฏบติยงติดขัดปญหาหลายอยาง อาทิ การใส่รหัสโรคเบิกจ่าย
ั
่
ิ
่
ู
็
การกาหนดกลุมโรค การตรวจสอบการเบกจ่าย เปนต้น ทําให้ต้องเรียนรประสบการณ์จากไทย
ิ
้
ํ
ิ
ั
่
เพือนําไปพัฒนาและปรบปรงให้เหมาะสมและสอดคล้องกบบรบทของเวียดนามในอนาคตต่อไป
ั
ุ
่
๔) ประโยชน์ทีได้รบจากการเดินทางไปศึกษาดูงาน
ั
การเดินทางไปศกษาดูงานตางประเทศครงนี คณะกรรมาธิการได้ศกษาแนวทาง
ั
้
่
ึ
้
ึ
ิ
้
พัฒนาการให้บรการด้านการสาธารณสุข ทังในด้านการให้บรการรักษาพยาบาล การดูแล
ิ
ั
ส่งเสรมสุขภาพ สิทธิในการเขาถงบรการของประชาชนตามระบบหลักประกนสุขภาพ และการ
ึ
้
ิ
ิ
้
ั
ผลิตบคลากรทางการแพทยรองรับการพัฒนาในดานการรกษาพยาบาลเพือเปนแนวทางในการ
่
ุ
์
็
แกไขปัญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ของประเทศไทย รวมทังเกิดความร่วมมือและ
้
้