Page 162 - report-06-final-ลายนำ_Neat
P. 162
้
่
หนา ๑๕๒ ส่วนที ๔
ุ
ิ
ขอเสนอแนะของคณะอนกรรมาธการ
้
่
้
ํ
๑) กองทุนสุขภาพของประเทศทัง ๓ กองทุน ควรหารือรวมกน เพือกาหนด
่
ั
้
็
สิทธิประโยชนขันพืนฐานทีประชาชนพึงได้รบ เนืองจากมความจําเปนต่อสุขภาพและ
้
่
์
่
ี
ั
การดํารงชีวิต โดยอาจอาศยวิธีการตรากฎหมายในระดับพระราชบญญัติหรอกฎหมายลําดับรอง
ั
ื
ั
ิ
่
๒) การเบกจ่ายเงนตามสิทธิในแต่ละกองทุนสุขภาพมีลักษณะทีแตกต่างกัน
ิ
ิ
ั
้
ํ
ํ
ื
่
ทําให้เกดปญหาความเหลอมล้า ดังนัน ในอนาคตทุกกองทุนควรกาหนดเพดานการเบิกจ่าย
่
ทีใกล้เคยงกน เพือลดปญหาดังกล่าว
ั
ี
ั
่
่
ิ
ิ
่
ี
ั
ี
่
้
๓) หน่วยงานทีเกยวของควรผลักดันให้เกดนโยบายเกยวกบส่งเสรมสุขภาพ
(Prevention) ได้แก “สรางเสริมสุขภาพนําซ่อม” เน้น “การป้องกันโรค มากกว่าการรักษา
่
้
โรค” เพือลดคาใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศ
่
่
๒. ระบบสารสนเทศด้านสาธารณสุขของประเทศไทย
ผลการพิจารณาของคณะอนุกรรมาธิการพบว่า หน่วยงานด้านสาธารณสุข
ของประเทศไทยยงขาดการบรณาการเชือมโยงขอมลสารสนเทศใหเปนระบบเดียวกน และขาด
ั
่
ู
็
้
ู
้
ั
ี
แผนในการพัฒนาระบบสุขภาพดิจิทัล (Digital Health) คณะอนุกรรมาธิการจึงมความเห็นว่า
ั
ั
หากต้องการพัฒนาโครงการหลกประกนสุขภาพแหงชาติให้มความทันสมย คมคา และเกดการ
้
่
่
ี
ั
ุ
ิ
้
ี
พัฒนาระบบสารสนเทศด้านสาธารณสุข ตลอดจนเทคโนโลยด้านดิจิทัลอืน ๆ ทัง Software
่
ี
และ Hardware โดยในสวนของการจัดทํา “Software” หรอ แอปพลิเคชัน มทังภาคเอกชน
้
ื
่
และรัฐบาล อาทิ เช่น (๑) แอปพลิเคชัน “Rama Appointment” พัฒนาโดยโรงพยาบาล
้
่
รามาธิบดี เพืออํานวยความสะดวกให้ผูปวยสามารถตรวจสอบ หรอเปลียนแปลงการนัดหมาย
่
ื
่
แพทย ผ่านแอปพลิเคชัน โดยไมต้องเสียเวลามาดําเนินการทีโรงพยาบาล (๒) แอปพลิเคชัน
่
่
์
ื
ื
ื
“RDU รเรองยา” หรอการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use) ของเครอข่ายโรงพยาบาล
่
ู
้
ั
กลุมสถาบนแพทยศาสตรแห่งประเทศไทย (University Hospital Network: UhosNet)
่
์
่
้
(๓) แอปพลิเคชัน “BAH Connect” ระบบเชือมโยงผูป่วย ของโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช
่
ี
ั
ู
ิ
ั
่
้
เพือให้บรการขอมลเกยวกบสิทธิการรกษาพยาบาล (๔) แอปพลิเคชัน “Samitivej Virtual
ิ
Hospital” เปนแอปพลเคชัน พบแพทยออนไลน์ ของโรงพยาบาลสมติเวช ได้ทุกที ทุกเวลา
่
ิ
็
์
พรอมจัดส่งยาให้ถึงบาน โดยไมต้องเสียเวลามาโรงพยาบาล (๕) แอปพลิเคชัน “Raksa” เป็น
้
่
้
แอปพลิเคชันทีจัดทํา โดยโรงพยาบาลบารงราษฎร์ อินเตอร เปนแอปพลิเคชัน ทีรวมแพทย ์
็
่
ุ
์
ํ
่
์
ึ
จากหลายสาขา และสามารถปรกษาแพทยได้แบบ Real Time (๖) แอปพลิเคชัน “Siriraj
ิ
Connect” มจุดมงหมาย เพือให้บรการผูปวยนอกในรปแบบ New Normal OPD Siriraj
่
้
ู
ี
่
ุ
่
ู
่
่
็
และเปนการลดระยะเวลาทีจะต้องอยในโรงพยาบาล ให้สันทีสุดเพือลดความแออัด และ
่
่
้
ั
ิ
(๗) การจัดทําแพลตฟอร์มเพือรองรบและควบคมการแพรระบาดของโรคโควิด-19 ภายหลังเกด
่
ุ
่
่
้
ี
สถานการณ์การแพรระบาดของโรคโควิด-19 ได้มการนําเทคโนโลยดิจิตอลเข้ามาปองกน
ี
ั
์
่
การแพรระบาดของโรคอย่างหลากหลาย ทังระดับจังหวัด และระดับประเทศ อาทิ แพลตฟอรม
้
์
์
KHON KAEN STOP COVID-19 แพลตฟอรม Everyday Doctor แพลตฟอรม “ไทยชนะ”