Page 9 - e-book
P. 9
4 หลักสูตรการสงเสริมศักยภาพผูดูแลคนพิการทางการไดยิน
เฉพาะคนหูหนวกและคนหูตึง
ผูดูแลคนพิการทางการไดยินฯ ไปสูองคกรดานคนพิการทางการไดยินและ
เครือขายองคกรที่เกี่ยวของตอไป
คนพิการสวนใหญมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวัน
หรือการเขาไปมีสวนรวมทางสังคม ดังนั้น บุคคลในครอบครัวหรือผูใกลชิด
คนพิการ เชน พอ แม ญาติ และพี่นอง จึงตองชวยกันดูแลเลี้ยงดูคนพิการ
รวมทั้งชวยติดตอประสานงานหรือสื่อสารกับบุคคลอื่นๆ แทนคนพิการ ดังนั้น
ในการ “จดทะเบียนทําบัตรประจําตัวคนพิการ” จึงกําหนดใหระบุชื่อ
ของ “ผูดูแลคนพิการ” เพื่อทําหนาที่รับผิดชอบเปนผูติดตอหรือสื่อสาร
แทนคนพิการอยางเปนทางการตามกฎหมาย ทั้งนี้ ผูดูแลคนพิการอาจเปน
ผูใกลชิดซึ่งดูแลคนพิการในชีวิตประจําวัน หรืออาจเปนคนที่ไมไดอยูบาน
เดียวกันกับคนพิการและไมไดทําหนาที่ดูแลคนพิการจริงๆ แตพรอมที่จะติดตอ
ประสาน ถายทอดความรู หรือทําความเขาใจระหวางคนพิการกับคนอื่นๆ
ในสังคม เชน เจาหนาที่ของรัฐ เพื่อนบาน ครู และคนในชุมชน เปนตน
ในกรณีที่คนพิการอยูในวัยเยาว “ผูดูแลคนพิการ” ตามกฎหมาย มักไดรับการ
เลือกโดยคนในครอบครัวของคนพิการ แตสําหรับคนพิการผูใหญสามารถที่จะ
พิจารณา ตัดสินใจเลือกผูดูแลคนพิการตามกฎหมายไดดวยตนเอง นอกจากนี้
คนพิการทางการไดยิน คนหูหนวกและคนหูตึง ที่ไมมีความพิการซอน
จะมีสภาพรางกาย สติปญญา และความรูสึกนึกคิดเชนเดียวกับคนทั่วไป
ดังนั้น จึงสามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวัน และสามารถเขาไปมี
สวนรวมในกิจกรรมทางสังคม เชน การศึกษา และประกอบอาชีพไดอยาง
เทาเทียมกับคนทั่วไป ความพิการทางการไดยิน การสูญเสียการไดยิน หรือ
การไมไดยินเสียง หรือไดยินนอยกวาคนทั่วไปเปนเพียงอุปสรรคที่ทําให
คนหูหนวกและคนหูตึงมีขอจํากัดในการสื่อสารดวยภาษาพูด กลาวคือ
ถาไมไดยินเสียงพูดเลยหรือหูหนวกตองสื่อสารดวย “ภาษามือ”
ถาไดยินเสียงพูดคอนขางมากหรือหูตึงนอยมักสื่อสารดวยภาษาพูด
และถาไดยินเสียงพูดนอยหรือหูตึงมาก อาจสื่อสารทั้งดวยภาษาพูดผสมกับ