Page 3 - ชดการเรยนการสอน สาระประวตศาสตร_Neat
P. 3
ชุดกำรเรียนกำรสอน เรื่องประวัติศำสตร์ไทยน่ำรู้ สำระประวัติศำสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3
มำตรฐำนกำรเรียนรู้
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้
วิธีการทางประวัติศาสตร์ มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
มาตรฐาน ส 4.3 เขาใจความเป็นมาของชนชาติไทยวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรักความภูมิใจ
และธ ารงความเป็นไทย
ตัวชี้วัดชั้นปี
1. วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์ส าคัญทางประวัติศาสตร์ไดอย่างมีเหตุผลตามวิธีการทาง
ประวัติศาสตร์
2. ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่าง ๆ ที่ตนสนใจ
3. วิเคราะห์พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ในด้านต่าง ๆ
4. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์
5. วิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ และอิทธิพลต่อการพัฒนาชาติไทย
6. วิเคราะห์บทบาทของไทยในสมัยประชาธิปไตย
หลักกำรและเหตุผล
ในการสร้างสื่อการสอน เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้ เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม โดยสาระที่เลือกมาเป็น สาระเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เนื้อหาในเล่มชุด
การสอน จะสอดแทรกส่วนที่เป็นรายละเอียดวิชา ความหมาย ความส าคัญ อีกทั้งยังมีความรู้ ทักษะการปฏิบัติ
ตนให้เกิดประโยชน์สูงสุด สอดแทรกเกี่ยวกับค่านิยม การสร้างความเข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม
ภูมิปัญญาไทย ตลอดจนมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย
โดยเนื้อหาสาระที่ปรากฏขึ้นในชุดการสอน จะช่วยพัฒนาการรู้การคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล
และเนื้อหาที่เป็นรูปธรรม เพื่อน าข้อมูลองค์ความรู้มาต่อยอดในระดับที่สูงขึ้น
สมมรรถภำพพื้นฐำน
เป็นการน าเอาความรู้ที่เป็นรูปธรรมมาผ่านกระบวนการต่างๆ ทั้งกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการคิด
การวัดและประเมินเกี่ยวกับข้อมูล ทั้งยังสามารถน าเอาความรู้ที่ได้รับส่งต่อให้กับผู้เรียนผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง
และเกิดประสิทธิภาพที่สูงสุด พร้อมทั้งมีการใช้ทักษะการสื่อสาร และการปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่นได้อย่าง
เหมาะสมซึ่งสามารถที่จะจ าแนกองค์ความรู้ได้ 3 ด้าน คือ
ด้ำนพุทธิพิสัย : นักเรียนสามรถอธิบายและวิเคราะห์ความเป็นมาของเหตุการณ์และเรื่องราวทาง
ประวัติศาสตร์ไทยในแต่ละยุคสมัย โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง
ด้ำนทักษะกระบวนกำร : มีทักษะกระบวนการท างานกลุ่ม ภาวะความเป็นผู้น าที่ดี และทักษะการ
สื่อสารที่เหมาะสม