Page 5 - ชดการเรยนการสอน สาระประวตศาสตร_Neat
P. 5
2.2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขหรือทฤษฎีการเสริมแรง (S-R Theory หรือ Operant Conditioning) โดย
การเสริมแรงทางบวกของสกินเนอร์ (skinner) ซึ่ง ชุดการเรียนการสอน ประวัติศาสตร์น่ารู้ สาระวิชา
ประวัติศาสตร์ จะมีการเสริมแรงทางบวกโดยการได้รับค าชมและรางวัลจากครูผู้สอนในการท ากิจกรรมต่างๆ
เพื่อให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้
2.3 ทฤษฎีการรับรู้ โดย ชุดการเรียนการสอน ประวัติศาสตร์น่ารู้ สาระวิชาประวัติศาสตร์ มีการ
ออกแบบในลักษณะของ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-book ให้มีสีสันที่โดดเด่น เพื่อให้ง่ายต่อการเรียนรู้
เอกสำรส ำหรับนักเรียนและคู่มือนักเรียน
เนื้อหำ ส าหรับชุกการสอนในรายวิชาภูมิศาสตร์เนื้อหาที่น ามาใช้ประกอบที่ผู้เรียนควรได้ศึกษามี
เนื้อหาพอสังเขป คือ
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ โดยเป็น
การศึกษาเกี่ยวกับวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งถือว่าเป็นขั้นตอนที่นักประวัติศาสตร์น ามาใช้ศึกษาเรื่องราวทาง
ประวัติศาสตร์ให้มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ นอกจากนี้นักเรียนสามารถน าความรู้เรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์
มาใช้ในการศึกษาวิเคราะห์เรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับตนเอง เรื่องราวเกี่ยวกับท้องถิ่น เรื่องราวต่างๆที่
เกิดขึ้นในปัจจุบัน หรือในอดีต หรือเหตุการณ์ส าคัญต่างๆ
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เป็นการ
เรียนรู้เกี่ยวกับการสถาปานากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานีแห่งใหม่ เมื่อ ปี พ.ศ. 2325 จนถึงปัจจุบัน ซึ่ง
ประเทศไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้มีพัฒนาการในด้านต่างๆ มาเป็นระยะ ทั้งด้านการเมืองการ
ปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมทั้งภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย ท าให้
ประเทศชาติสามารถด ารงอยู่ได้อย่างอิสระ
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 3 พัฒนำกำรทำงประวัติศำสตร์ไทยสมัยปรับปรุงและปฏิรูปประเทศ ในสมัย
ปรับปรุงประเทศและปฏิรูปประเทศซึ่งอยู่ในช่วงเวลาตั้งแต่รัชกาลที่ 4 จนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็น
ระบอบประชาธิปไตย พ.ศ.2475 ในรัชกาลที่ 7 นับเป็นสมัยที่ไทยมีการปรับปรุงและปฏิรูปประเทศให้ทันสมัย
แบบตะวันตก เพื่อรักษาเอาไว้ซึ่งเอกราชให้รอดพ้นจากภัยคุกคามของจักรวรรดินิยม ซึ่งนักเรียนในฐานะคน
ไทยควรเกิดจิตส านึกในความเป็นไทย ในการที่บรรพบุรุษรักษาไว้ซึ่งเอกราชของประเทศจนถึงปัจจุบัน
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 4 พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยประชาธิปไตย เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิ์ราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 ซึ่งท าให้ประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสมัยประชาธิปไตยที่มีอ านาจ
อธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย ซึ่งนักเรียนมนฐานะพลเมืองของประเทศควรปฏิบัติตนตามกฎหมายและธ ารง
ไว้ซึ่งความเป็นอธิปไตย