Page 4 - ชดการเรยนการสอน สาระประวตศาสตร_Neat
P. 4

ด้ำนเจตคติ : เกิดความภาคภูมิใจและอนุรักษ์ไว้ซึ่งวัฒนธรรมและภูมิปัญญาในฐานะพลเมืองไทยและ

               พลเมืองโลก ได้อย่างเหมาะสม
               จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

                       ผู้เรียนสามารถแสดงพฤติกรรมในด้านทักษะการสื่อสาร ทักษะด้านสังเกต การท ากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น

               ได้อย่างเหมาะตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นมีการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างเหมาะสม
               ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับจำกชุดกำรสอน

                       1.ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในรายวิชาประวัติศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
                       2.พัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการทางวิธีการทางประวัติศาสตร์ มีประสิทธิภาพตาม

               ความเหมาะสมและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาสังคมในสาระประวัติศาสตร์

                       3.เป็นแนวทางในการสร้างชุดการสอนในรายวิชาสังคมต่อไป
               นิยำมศัพทเฉพำะในชุดกำรสอนประวัติศำสตร์

                       1.  ชุดการเรียนรู หมายถึง สื่อการเรียนการสอนหลาย ๆอยางประสมกัน หรือเรียกวาสื่อประสม
               สามารถท าให้สะดวกต่อการใช้ในการเรียนการสอนผูเรียนสามารถแกปญหาดวยตนเอง ซึ่งจะท าใหผูเรียน

               บรรลุจุดมุงหมายในการเรียนอยางมีประสิทธิภาพ ชุดการเรียนรูทุกชุดจะประกอบดวย

                                      1.1  คู่มือและแบบปฏิบัติ ส าหรับครูผู้ใช้ชุดการเรียนรู้ และนักเรียนที่  ต้องเรียนจากชุด
               การเรียนรูปแบ่งเป็น  เอกสารส าหรับครูซึ่งเป็นข้อแนะน ารายละเอียดส าหรับครูผู้ใช้ ชุดการเรียนรู้ในแต่ละชุด

               ควรเตรียมตัวอย่างไร การศึกษาเนื้อหา การจัดกิจกรรมในชั้นเรียนและรวมถึงแผนการสอนซึ่งเปนเอกสาร

               ส าหรับครูในการด าเนินกิจกรรมการเรียนการสอน           มีรายละเอียดเกี่ยวกับความคิดรวบยอด
               จุดมุงหมายเชิงพฤติกรรม เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู สื่อการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผลเกี่ยวกับ

               เรื่องที่จะสอน
                                    1.2 เอกสารส าหรับนักเรียน เปนขอแนะน ารายละเอียดส าหรับนักเรียน ในชุดการเรียนรู

               ประกอบดวย เนื้อหา ระยะเวลาเรียน จุดมุงหมายของการเรียน ใบปฏิบัติกิจกรรม และแบบบันทึกกิจกรรม

                       2.ทฤษฎีการศึกษากับชุดการเรียนรู้    เพื่อให้สื่อการเรียนรู้ ชุดการเรียนการสอน ประวัติศาสตร์
               ไทยน่ารู้ สาระวิชาประวัติศาสตร์ สามารถส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีการออกแบบ

               สื่อการเรียนรู้นี้โดยใช้ 3 ทฤษฎีการรองรับ คือ ทฤษฎีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง ทฤษฎีการวางเงื่อนไขหรือทฤษฎี
               การเสริมแรง และทฤษฎีการรับรู้ เข้ามารองรับการจัดท าสื่อ โดยมีรายละเอียดดังนี้

                              2.1 ทฤษฎีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Connectionism Theory) ของทอนไดค์ ซึ่งกล่าวไว้ว่า “

               สิ่งเร้าหนึ่งๆย่อมเกิดการตอบสนองหลายๆอย่าง จนพบสิ่งที่ตอบสนองที่ดีที่สุด”  โดย  ชุดการเรียนการสอน
               ประวัติศาสตร์น่ารู้ สาระวิชาประวัติศาสตร์ ได้น าเอากฎแห่งการฝึกฝน (Law of Exercise) มาใช้ในการเปิด

               โอกาสให้ผู้เรียนลองผิดลองถูกด้วยตัวเอง ในการท าใบงานและข้อสอบ โดยในแต่ละบทการเรียนรู้จะมีข้อสอบ

               ก่อนเรียนและหลังเรียน  เพื่อเป็นการฝึกฝนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และช านาญในการเรียน
   1   2   3   4   5   6   7   8   9