Page 85 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 85
71
ตารางที่ 4.2 แสดงการสรุปผลการจัดประชุมแบบมีส่วนร่วม ในการน าเสนอปัญหา และระดับ
ความส าคัญของปัญหา ของกลุ่มผู้สูงอายุ (จ านวน 25 คน)
ปัญหาด้าน ประเด็นปัญหา จ านวนผู้เสนอ (คน) ความถี่ร้อยละ
1. เศรษฐกิจ/ เดินทางที่ไม่สะดวก 15 60.00
คมนาคม ไม่มีพาหนะหรือรถประจ าทาง 20 80.00
ขาดแคลนเงิน 13 52.00
2. สังคม/ความรู้ อาศัยอยู่คนเดียว 14 56.00
ขาดการรวมกลุ่มท ากิจกรรม 22 88.00
ขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองที่ถูกต้อง 20 80.00
ขาดการสร้างสุขภาพที่เหมาะสมตามวัย 21 84.00
ขาดการประชุมวางแผนรวมกลุ่ม 20 80.00
ขาดผู้น าและการประสานงานกับหน่วยงาน
ราชการต่างๆ 19 76.00
ขาดข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ 20 80.00
3.การรับประทาน ขาดการรับประทานอาหารเสริมสุขภาพ 20 80.00
อาหาร ลูกหลานรีบไปท างานนอกบ้านไม่มีเวลาเตรียม
อาหารให้รับประทานได้เต็มที่เท่าที่ควร 15 60.00
4.จิตใจ ขาดการสังสรรค์กับเพื่อนผู้สูงอายุด้วยกัน 23 92.00
ไม่มีอาชีพ คิดถึงลูก-หลาน 21 84.00
ขาดการเยี่ยมบ้านจากเจ้าหน้าที่ขาดโอกาสในการ 19 76.00
ท่องเที่ยงพักผ่อนหย่อนใจ 20 80.00
5.การออกก าลัง ขาดออกก าลังกายที่สม่ าเสมอ 23 92.00
กาย ขาดอุปกรณ์ในการออกก าลังกาย 20 80.00
ขาดผู้น าการออกก าลังกาย 15 60.00
ขาดสถานที่ส าหรับเป็นศูนย์กลางการออกก าลัง
กาย 20 80.00
6.สรุปปัญหาที่ การขาดความรู้ด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง
ส าคัญที่สุด ส าคัญที่สุด 25 100.00
ขาดการออกก าลังกาย 24 96.00
ขาดการรับประทานอาหารที่ถูกหลักอนามัย 24 96.00
จากตารางที่ 4.2. พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ มีปัญหาเกี่ยวกับการขาดความรู้ด้านการดูแล
สุขภาพตนเอง ขาดการออกก าลังกายอย่างสม่ าเสมอ ขาดการรับประทานอาหารที่ถูกหลักอนามัย ขาด
การพบปะสังสรรค์กับเพื่อนผู้สูงอายุด้วยกัน ไม่มีพาหนะหรือรถประจ าทาง