Page 89 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 89

75


                       ตารางที่ 4.6  แสดงการสรุปผลการจัดประชุมแบบมีส่วนร่วม ของกลุ่มตัวแทนแกนน าชุมชนและ
                                 ตัวแทนหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ด้านแนวทางปัญหาของผู้สูงวัย (จ านวน 4 คน)

                             ปัญหา                       แนวทางแก้ปัญหา                       หมายเหตุ
                           ขาดความรู้    จัดอบรมให้ผู้สูงวัยให้มีความรู้เรื่องสุขลักษณะและภาวะเสี่ยง  ผู้วิจัยท าการสังเคราะห์
                                         อย่างถูกต้อง                                    ประเด็นรวมให้เป็น
                             อสม.        จัดหา อสม.เพิ่มขึ้นให้เพียงพอโดยเพิ่มหมู่ละ 4 คน/อบต.ควร  กลุ่ม แล้วน าเสนอในที่
                                         จัดสรรงบประมาณสนับสนุนการท างานของ อสม.         ประชุมเพื่อขอการ
                          ลักษณะผู้สูงวัย   ลดอัตราการป่วยติดเตียงให้เหลือต่ าสุด        รับรองจากที่ประชุม

                        ระบบการช่วยเหลือ  จัดให้มีโครงการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง/ผู้ป่วยติดเตียงออกเยี่ยม
                                         ผู้สูงอายุที่ไม่สะดวกในการเดินทางไปรักษาตนเอง/จัดให้มีการ
                                         บริการที่มีประสิทธิภาพ

                          ระบบการดูแล    ส่งเสริมให้เข้าร่วมกิจกรรมในชุมชน สนับสนุนการออกก าลังกาย
                                         /สนับสนุนให้ผู้ดูแลมีงานท าระหว่างเฝ้าผู้ป่วยติดเตียง(รับงานมา
                                         ท าที่บ้าน) ส่งเสริมการฝึกอาชีพให้ผู้สูงวัย ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ
                                         ออกก าลังกาย เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ

                          การคมนาคม      โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลเทพมงคล ควรจัดงบประมาณ
                                         หารถรับส่งผู้สูงวัยที่ไม่สามารถช่วยตนเองได้


                                 จากตารางที่ 4.6  พบว่า ผู้น าชุมชนมีความเห็นไปในทิศทางเดียวกันในการเสนอแนว
                       ทางการแก้ปัญหาทุกปัญหาอย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรม ได้แก่ การเพิ่มความรู้(ปัญญาภาวนา)ใน
                       ด้านสุขภาพ ด้านอาหาร การจัดกิจกรรมการออกก าลังกาย(กายภาวนา) กิจกรรมทางสังคม(ศีลภาวนา)
                       การดูแลเรื่องสุขภาพจิต (จิตภาวนา)
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94