Page 160 - สมโภชพระอารามหลวง ครบ 100 ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร สุพรรณบุรี.
P. 160

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร  •  77


                    สุพรรณบุรีประช�กรส่วนใหญ่นับถือศ�สน�พุทธ ประกอบ

               ไปด้วยคนไทยหล�ยเชื้อช�ติมีขนบธรรมเนียมประเพณีแตกต่�ง

               กันต�มท้องถิ่น เช่น ประเพณีทิ้งกระจ�ด ประเพณีนมัสก�ร
               หลวงพ่อโตวัดป่�เลไลยก์วรวิห�ร ประเพณีบุญข้�วจี่ ประเพณี

               เสนเฮือน ฯลฯ มีวัดจำ�นวน ๕๘๖วัด ศ�สนสถ�นในสุพรรณบุรี

               เป็นศ�สนสถ�นท�งพระพุทธศ�สน�แทบทั้งสิ้น และมีอยู่

               จำ�นวนม�ก มีพุทธศิลป์หล�ยแบบหล�ยสมัยกระจัดกระจ�ย
               อยู่ต�มอำ�เภอต่�งๆ ในจังหวัดสุพรรณบุรี เช่น สมัยทว�รวดี สมัย

               อู่ทอง สมัยลพบุรี สมัยอยุธย� และสมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.๒๓๒๕

               - ปัจจุบัน) (บุญครอง และรัตนมณี คันธฐ�กูร, ๒๕๔๒)

                    บทคว�มนี้จะนำ�เสนอ พุทธศิลป์บ�งประเภทของพระพิมพ์

               (พระเครื่อง) ในช่วงพุทธศักร�ช ๒๔๐๘ - ๒๕๕๑ ที่สร้�งขึ้น

               ในวัดป่�เลไลยก์วรวิห�รซึ่งเป็นพุทธศิลป์พิมพ์พระต่�งๆ ที่มี
               หลักฐ�นชัดเจนและเป็นที่นิยมสนใจของประช�ชนทั่วไป



               ควำมหมำยของพุทธศิลป์


                    คำ�ว่�“พุทธศิลป์” เป็นคำ�ผสมระหว่�ง “พุทธะ”แปลว่�

               ผู้ตรัสรู้ ผู้ตื่นแล้ว ผู้เบิกบ�นแล้วใช้เป็นพระน�มเฉพ�ะของ

               พระพุทธเจ้�ผู้เป็นพระบรมศ�สด�แห่งพระพุทธศ�สน� คำ�ว่�

               พุทธะในที่นี้จึงหม�ยถึงพระพุทธเจ้� หรือพระพุทธศ�สน� กับ
               คำ�ว่� “ศิลป์” (ศิลปะ) ตรงกับภ�ษ�สันสกฤตว่� “ศิลฺป” และ
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165