Page 162 - สมโภชพระอารามหลวง ครบ 100 ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร สุพรรณบุรี.
P. 162

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร  •  79


               กันว่�พระปฏิม�กร และพระพิมพ์ ที่เรียกว่�พระเครื่อง และ

               สถ�ปัตยกรรม (Architecture) เป็นศิลปะเกี่ยวกับง�นก่อสร้�ง

                    สำ�หรับพุทธศิลป์ ในที่นี่จะหม�ยถึงเฉพ�ะง�นสร้�งสรรค์

               ประเภทประติม�กรรม (Sculpture) ลักษณะเป็นพระพิมพ์ ที่
               เรียกว่� พระเครื่อง เท่�นั้น เป็นศิลปะที่สื่อคว�มด้วยก�รเห็น มี

               ปริม�ตร ส�ม�รถสัมผัสรู้สึกถึงคว�มกว้�ง คว�มย�ว รวมทั้งคว�ม

               ลึกและคว�มนูนได้ ดังนั้น ก�รสร้�งง�นประติม�กรรมเนื่องใน
               พระพุทธศ�สน� จึงเป็นไปเพื่อใช้เป็นอุปกรณ์อย่�งหนึ่งที่ถ่�ยทอด

               คติคว�มเชื่อ และแนวคิดท�งศ�สน�ให้เป็นรูปธรรม สัมผัสได้

               ด้วยต� (ก�รเห็น) ก่อให้เกิดคว�มรู้สึก คว�มเข้�ใจเรื่องร�วในศ�สน�
               ตลอดจนคว�มประทับใจอันนำ�ไปสู่คว�มเลื่อมใสศรัทธ� (สุรศักดิ์

               เจริญวงศ์, ๒๕๓๕) ก�รสร้�งประติม�กรรมท�งพระพุทธศ�สน�

               มีวัตถุประสงค์เพื่อนำ�เสนอคว�มเชื่อท�งศ�สน�เป็นหลักใหญ่ เป็น
               ก�รรับใช้ศ�สน�ด้วยผลง�นประติม�กรรม น้อมนำ�ชักจูงให้

               คนในสังคมเลื่อมใสในพระพุทธศ�สน�ให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ส�ม�รถ

               รับรู้และเข้�ใจในหลักธรรมคำ�สอนของศ�สด�ม�กขึ้น เพื่อเป็น
               สิ่งแทนหรือพรรณน�คว�มรู้สึกนึกคิด คว�มเชื่อออกม�เป็นรูป

               ธรรม ดังนั้นอ�จจำ�แนกประเภทของประติม�กรรมต�มลักษณะ

               และวัตถุประสงค์ที่แสดงออกได้เป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ
               ประติม�กรรมแบบรูปเค�รพ และประติม�กรรมแบบตกแต่ง

               สถ�ปัตยกรรม (ในที่นี่จะนำ�เสนอเฉพ�ะประติม�กรรมแบบรูป

               เค�รพ)
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167