Page 163 - สมโภชพระอารามหลวง ครบ 100 ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร สุพรรณบุรี.
P. 163
80 • สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร
ประติม�กรรมแบบรูปเค�รพที่สร้�งขึ้นในพระพุทธ-
ศ�สน� เพื่อเป็นตัวแทนในสิ่งเค�รพนับถือของพุทธศ�สนิกชน
ประติม�กรรมรูปเค�รพจึงเป็นรูปทรงแห่งวัตถุที่ถูกสร้�งสรรค์
ขึ้นม�เพื่อเป็นสิ่งแทน (สัญลักษณ์) เป็นสิ่งพรรณน�คว�มรู้สึก
อุดมคติ และคว�มเชื่อที่เป็นน�มธรรมให้ปร�กฏเป็นรูปธรรม
มีจุดมุ่งหม�ยให้เป็นศูนย์รวมแห่งศรัทธ�ในศ�สน� ได้แก่
พระพุทธรูปพระพิมพ์ หรือพระเครื่อง และรูปสัญลักษณ์
วัตถุประสงค์ที่สร้�งขึ้นเพื่อปร�รถน�ให้รำ�ลึกถึงองค์
พระพุทธเจ้� และเพื่อน้อมนำ�ใจให้พุทธศ�สนิกชนได้ระลึกถึง
เหตุก�รณ์สำ�คัญต่�งๆ ในพุทธประวัติจึงกำ�หนดระบบแบบแผน
ท่�ท�งต่�งๆ ของพระพุทธรูปเป็นป�งต่�งๆ แต่ละป�งของ
พระพุทธรูป สำ�หรับประเทศไทยพุทธศ�สน�และคติก�รสร้�ง
รูปเค�รพพระพุทธรูปเริ่มปร�กฏให้เห็นเมื่อร�วสมัยทว�รวดี
อันเป็นช่วงเวล�หลังจ�กเกิดคติก�รสร้�งพระพุทธรูปในอินเดีย
เกือบ ๑๐๐๐ ปี โดยรับผ่�นศรีลังก�อันเป็นช่วงเวล�ปร�กฏ
รัฐต่�งๆ (กรมศิลป�กร, ๒๕๕๒)
ก�รสร้�งพระพุทธรูปหรือพระพิมพ์ (พระเครื่อง) มิได้มี
จุดมุ่งหม�ยเพื่อแสดงลักษณะของพระพุทธเจ้�เพียงส่วนเดียว
แต่ต้องทำ�ให้ง�มต้องใจคนทั้งหล�ยด้วย (สมบูรณ์ คำ�ดี, ๒๕๔๙)
เพร�ะพระพุทธรูปเป็นศูนย์รวมของศ�สนิกชนที่กร�บไหว้บูช�
ดังนั้น พระพุทธรูปจึงต้องสร้�งขึ้นด้วยวัตถุที่มีค่�และคว�ม
คงทน เช่นทองคำ� หยก หินแกรนิต หินอ่อน หรือโลหะที่มีค่�