Page 14 - หนังสือเรียนรายวิชา นาฏศิลป์ไทย
P. 14

บทที่ 3 ภาษาท่า









                      ภาษาท่าทางนาฏศิลป์  เป็นการน าท่าทางต่างๆ



        และสีหน้าที่มีอยู่ตามธรรมชาติ  เช่น  ค าพูด กริยา

        อาการ  อารมณ์ ความรู้สึก  มาปฏิบัติเป็นท่าทางนาฏศิลป์ไทย


        ที่มีความหมายแทนค าพูด ให้สอดคล้องกับจังหวะเพลงและการขับ


        ร้อง  การฝึกปฏิบัติ  การฝึกหัดภาษาท่าจะต้องฝึกให้ถูกต้องตาม


        แบบแผนเพื่อจ าได้สื่อความหมายได้ โดยตรง ซึ่งจะท าให้ผู้ชมเข้าใจ

        ความหมายที่ผู้แสดงต้องการสื่อความหมายมากขึ้น ที่มาของภาษาท่า


        ที่ใช้ในการแสดงนาฏศิลป์ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท



                      ๑. ภาษาท่าที่มาจากธรรมชาติ เป็นท่าทางที่ดัดแปลงมา


        จากท่าทางตามธรรมชาติของคนเรา แต่ปรับปรุงให้ดูสวยงามอ่อน

        ช้อยมากยิ่งขึ้น  โดยใช้ลักษณะการ ร่ายร าเบื้องต้นมา


        ผสมผสาน  เช่น  ท่ายิ้ม  ท่าเรียก  ท่าปฏิเสธ  ท่า


        ร้องไห้  ท่าดีใจ  ท่าเสียใจ  ท่าโกรธ


                      ๒. ภาษาท่าที่มาจากการประดิษฐ์โดยตรง เป็นท่าทางที่


        ประดิษฐ์ ขึ้นเพื่อให้เพียงพอใช้กับค าร้องหรือค าบรรยาย ที่จะต้อง

        แสดงออกเป็นท่าร า  เช่น    สอดสร้อยมาลา  เป็นต้น













                                                                                                   11
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19