Page 17 - หนังสือเรียนรายวิชา นาฏศิลป์ไทย
P. 17
บทที่ 4
นาฏศิลป์พื้นบ้าน
นาฏศิลป์พื้นบ้าน หมายถึง ศิลปะการเคลื่อนไหวส่วน
ต่าง ๆ ของร่างกาย ให้มีลีลาอันงดงาม ได้แก่ ระบ า ร า ฟูอน
ต่าง ๆ ซึ่งเป็นที่นิยมเล่นหรือแสดงกันในท้องถิ่น ในภาษาไทย
เรามีค าว่า “ระบ า” “ร าฟูอน” ที่ใช้ในความหมายของการแสดง
ลีลานาฏศิลป์ไทย แต่ในท้องถิ่นภาคเหนือ จะใช้ค าว่า “ฟูอน”
เป็นศัพท์เฉพาะท้องถิ่น
นาฏศิลป์พื้นเมืองภาคเหนือ
จากสภาพภูมิประเทศที่อุดมไปด้วยปุา มีทรัพยากรมากมาย มี
อากาศหนาวเย็น ประชากรมีอุปนิสัยเยือกเย็น นุ่มนวล งดงาม
รวมทั้งกิริยา การพูดจา มีส าเนียงน่าฟัง จึงมีอิทธิพลท าให้เพลง
ดนตรีและการแสดง มีท่วงท านองช้า เนิบนาบ นุ่มนวล ตามไป
ด้วย การแสดงของภาคเหนือเรียกว่า ฟูอน เช่น ฟูอนเล็บ ฟูอน
เทียน ฟูอนเงี้ยว ฟูอนสาวไหม เป็นต้น ภาคเหนือนี้มีการแสดง
หรือการร่ายร าที่มีจังหวะช้า ท่าร าที่อ่อนช้อย นุ่มนวล เพราะมี
อากาศเย็นสบาย ท าให้จิตใจของผู้คนมีความนุ่มนวล อ่อนโยน
ภาษาพูดก็นุ่มนวลไปด้วย เพลงมีความไพเราะ อ่อนหวาน ผู้คนไม่
ต้องรีบร้อนในการท ามาหากิน สิ่งต่างๆ เหล่านั้นมีอิทธิพลต่อการ
แสดงนาฏศิลป์ของภาคเหนือ
14