Page 19 - หนังสือเรียนรายวิชา นาฏศิลป์ไทย
P. 19
นาฏศิลป์พื้นเมืองภาคกลาง
การแสดงพื้นเมืองภาคกลาง
เป็นศิลปะการร าและการละเล่นของชาว
พื้นบ้านภาคกลาง ซึ่งส่วนใหญ่มีอาชีพ
เกษตรกรรม ศิลปะการแสดงจึงมีความ
สอดคล้องกับวิถีชีวิต และเพื่อความบันเทิง
สนุกสนาน เป็นการพักผ่อนหย่อนใจจากการท างาน หรือเมื่อ
เสร็จจากฤดูเก็บเกี่ยว ส่วนมากเป็นการละเล่นประเภทการร้อง
โต้ตอบกันระหว่าง ฝุายชายและฝุายหญิงโดยใช้ปฏิภาณไหวพริบใน
การร้องด้นกลอนสด เช่น ล าตัด เพลงฉ่อย เพลงพวงมาลัย
เพลงเรือ เพลงเกี่ยวข้าว เต้นก าร าเคียว เพลงอีแซว เพลงปรบไก่
เพลงเหย่อย ร าเถิดเทิง ฯลฯ ใช้เครื่องดนตรีพื้นบ้าน เช่น กลอง
ยาว กลองโทน ฉิ่ง ฉาบ กรับ และ โหม่ง
16