Page 4 - สารกรมการแพทย์ฉบับที่ 11
P. 4
4 ขาว Hot ประเด็นรอน
แพทยเตือน
“โรคหลอดเลือดสมอง”
พบแพทยไว ไดรับการฟนฟู ลดความพิการได
สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย เตือนใหประชาชนตื่นตัวปองกัน หากพบอาการแขน ขาออนแรง
ขางใดขางหนึ่ง สับสน พูดลำบาก พูดไมรูเรื่อง มองเห็นลดลง มีปญหาการเดิน มึนงง ใหรีบไปพบแพทยดวนที่สุด
ใน 3 ชั่วโมงครึ่ง เพราะอาจเปนสัญญาณเตือนของโรคอัมพฤกษ – อัมพาต
นายแพทยสมศักดิ์ อรรฆศิลป
อธิบดีกรมการแพทย
เปดเผยวา โรคหลอดเลือดสมอง เปนโรคที่พบบอยที่สุดโรคหนึ่งของโรคทางระบบประสาท
และเปนสาเหตุการตายที่สำคัญในอันดับตนๆ ของประเทศ โรคนี้ถาหากไดรับการรักษา
ไมทันทวงที สวนใหญจะมีความพิการหลงเหลือตามมา ซึ่งปจจัยเสี่ยงที่สำคัญ เชน ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง มีญาติสายตรงปวยโรคหลอดเลือดสมอง ขาดการออกกำลังกาย
น้ำหนักเกิน สูบบุหรี่ เปนตน ทั้งนี้ ผูปวยจะมีอาการเตือนสำคัญ คือ แขน ขาออนแรงซีกเดียว
ของรางกาย สับสน พูดลำบาก พูดไมรูเรื่อง ตามองเห็นลดลง 1 หรือทั้ง 2 ขาง มีปญหาการเดิน
มึนงง ซึ่งอาการเหลานี้มักเกิดฉับพลันใหรีบมาพบแพทยดวนที่สุดภายใน 3 ชั่วโมงครึ่ง
จะรักษาชีวิตและฟนฟูใหกลับมาเปนปกติหรือใกลเคียงไดมากที่สุด สำหรับการลดความเสี่ยง ไดแก รับประทานอาหาร
ใหครบ 5 หมู หลีกเลี่ยงอาหารเค็ม ไขมันสูง ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ควบคุมน้ำหนัก งดเครื่องดื่มมึนเมา
เลี่ยงสูบบุหรี่ และตรวจสุขภาพประจำป
แพทยหญิงไพรัตน แสงดิษฐ
ผูอำนวยการสถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย
กลาวเพิ่มเติมวา ปญหาที่สำคัญของผูปวยโรคหลอดเลือดสมองคือการที่ไมสามารถ
ชวยเหลือตนเองได จำเปนตองรักษาหรือฟนฟูดวยวิธีตางๆเพื่อใหรางกายมีสภาพที่ดีขึ้น
สามารถชวยเหลือตัวเองไดมากขึ้น สำหรับวิธีการฟนฟูผูปวยอัมพฤกษ อัมพาตควรทำ
ความเขาใจรวมกันระหวางแพทย ผูปวย และผูดูแลเพื่อการดูแลไดอยางถูกตองเหมาะสม
เนื่องจากเปนการฟนฟูผูปวยที่เจ็บปวยเรื้อรังหรือฉับพลันเพื่อลดความพิการหรือปองกัน
ความพิการใหไดมากที่สุด สามารถใชชีวิตใหเปนปกติและมีคุณภาพชีวิตที่ดี สำหรับ
การวินิจฉัยโรควาคนไขออนแรงจากอัมพฤกษ อัมพาตหรือไม หรือเปนที่กลามเนื้อและกระดูก
แพทยจะซักประวัติและอาจเอกซเรยสมองรวมดวย หากพบวาเปนโรคดังกลาวจะสงใหแพทยดูแลอาการใหสภาพคงที่จากนั้นสงไปยัง
ศูนยฟนฟูเพื่อกายภาพบำบัดตามลำดับ
ดังนั้น ประชาชนจึงควรมีความรูเบื้องตนในการปองกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและทราบถึงอาการเบื้องตนเพื่อสงผูปวย
เขารับการรักษาไดทันเวลา จะยิ่งมีโอกาสสูงมากในการเยียวยาอาการใหดีขึ้น เชน การใหยาละลายลิ่มเลือดในภาวะเสนเลือดในสมองตีบ
และการดูแลที่เหมาะสมในผูปวยที่มีเสนเลือดในสมองแตกจะชวยลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซอน ตลอดจนลดอัตราการเสียชีวิตได
สารกรมการแพทย ปที่ 1 ฉบับที่ 11 กันยายน 2561