Page 5 - สารกรมการแพทย์ฉบับที่ 11
P. 5

อโรคยา      5


       สถาบันสิรินธรเพื่อการฟนฟูฯ บำบัดเด็กออทิสติก



                        กระตุนทักษะดานการพูด การสื่อสาร





                                        สถาบันสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ

                                        กรมการแพทย ใหความสำคัญกับเด็กออทิสติก ฝกใหมีปฏิสัมพันธ

                                        สามารถสื่อสารกับผูอื่น และทำกิจวัตรประจำวันชวยเหลือตนเองใหไดมากที่สุด



                                                          นายแพทยภาสกร ชัยวานิชศิริ
                                                          รองอธิบดีกรมการแพทย


                                   กลาววา ภาวะออทิสติก เปนโรคหรือกลุมอาการที่เกิดขึ้น
        ในเด็กเนื่องจากความผิดปกติของสมอง เด็กจะมีความบกพรองทางพัฒนาการดาน
        การมีปฏิสัมพันธกับผูอื่นและสภาวะแวดลอมรอบตัว หากมองดูภายนอกเด็กออทิสติก

        จะดูเหมือนเด็กธรรมดาทั่วไป แตเมื่อเขาไปพูดคุยหรือเลนดวยอาจพบวา เด็กมักจะอยูในโลก
        ของตนเอง และขาดความสนใจรวมกับคนอื่น
           ทั้งนี้เด็กออทิสติกจะมีความบกพรองใน 3 ดาน คือ

           1. ดานปฏิสัมพันธ เชน ไมสบตา เรียกไมหัน ไมชอบเลนกับบุคคลอื่น
           2. ดานการสื่อสาร เชน ไมพูดเลย หรือพูดชากวาวัย ถามตอบไมเปน

           3. ดานพฤติกรรม เชน ยึดติดกับการทำกิจวัตรซ้ำ ๆ กรีดรอง อารมณรุนแรง เปนตน
            ดังนั้น ตองฝกใหเด็กมีปฏิสัมพันธ มีการสื่อสารกับผูอื่น เพื่อลดปญหาพฤติกรรมและสงเสริมใหเด็กสามารถทำกิจวัตรประจำวัน

        ชวยเหลือตัวเองใหไดมากที่สุด

                                     นายแพทยศักรินทร วงศเลิศศิริ
                                       ผูอำนวยการสถาบันสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ

                                          กลาวเพิ่มเติมวา เนื่องจากอาการออทิสติกไมสามารถรักษาใหหายขาดไดและไมมี

                                          ยารักษาโรคนี้โดยตรง แตสามารถฝกฝนใหเด็กกลุมนี้มีชีวิตใกลเคียงกับเด็กทั่วไปได
                                          กลุมงานแกไขการพูด สถาบันสิรินธรเพื่อการฟนฟูฯ ไดดำเนินการบำบัดและฟนฟู

                                          โดยทีมสหวิชาชีพ ประกอบดวย พยาบาล นักจิตวิทยา นักกิจกรรมบำบัด นักแกไขการพูด
                                          และครูการศึกษาพิเศษ เปนผูใหคำแนะนำและกระตุนทักษะดานการพูด การสื่อสาร
                                          รวมกับผูปกครองและญาติในการชวยดูแลฝกพูดเบื้องตนใหเด็กดังนี้

                                          1.  หากเด็กเคลื่อนไหวอวัยวะที่ใชในการพูดลำบาก ควรฝกใหอาปาก ฝกการเลนเสียงงาย ๆ
        2. เด็กไมรูจักคำศัพท อาจฝกทำตามคำสั่ง สอนคำศัพท ำ ั 

        3. เด็กไมมีปฏิสัมพันธ เมื่อเด็กสนใจอะไรควรเขาไปเลนดวย
        4. เด็กไมรูจักวิธีสื่อสาร ควรกระตุนโดยใหสังเกตวา เด็กชอบเลนหรือชอบกินอะไรใหนำสิ่งนั้นมาเปนแรงจูงใจในการสื่อสาร

                 ทั้งนี้ รูปแบบการใหบริการฝกพูดในเด็กออทิสติกเบื้องตน เด็กที่มารับบริการฟนฟูมีทั้งแบบเดี่ยวและแบบกลุม รวมถึงเครื่องมือ
         เทคโนโลยีที่ใชในการฝกพูด เชน คอมพิวเตอรโปรแกรมฝกพูด นักแกไขการพูด แบบฝกหัดสอนพูด เปนตน การบำบัดและฟนฟู

         ดังกลาวเพื่อใหเด็กออทิสติกสามารถสื่อสารชวยเหลือตนเอง ตลอดจนอยูรวมกับสังคมและครอบครัวไดอยางมีความสุข

                                                                             ปที่ 1 ฉบับที่ 11 กันยายน 2561  สารกรมการแพทย
   1   2   3   4   5   6   7   8