Page 7 - สารกรมการแพทย์ฉบับที่ 11
P. 7

แวดวงสาธารณสุข      7

        กรมการแพทย-กรมควบคุมโรค



        ลงนามความรวมมือเพิ่มประสิทธิภาพดานอาชีวเวชศาสตรและเวชศาสตรสิ่งแวดลอม




















         กรมการแพทย - กรมควบคุมโรค ลงนามขอตกลงบูรณาการการทำงาน เพิ่มประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซอนการทำงานดานอาชีวเวชศาสตร
         และเวชศาสตรสิ่งแวดลอม ทั้งดานวิชาการ การจัดบริการ กรณีเกิดเหตุการณฉุกเฉินดานสิ่งแวดลอม เฝาระวังและเตรียมความพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉิน
         ภัยสุขภาพ และใหการดูแลประชาชนเมื่อเกิดเหตุการณ


            นายแพทยเจษฎา โชคดำรงสุข  ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เปนประธานพิธีลงนามขอตกลงความรวมมือดานอาชีวเวชศาสตรและเวชศาสตร
        สิ่งแวดลอม ระหวางนายแพทยสมศักดิ์ อรรฆศิลป อธิบดีกรมการแพทย และนายแพทยสุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมควบคุมโรค
        เพื่อความรวมมือดานวิชาการ ทั้งในและตางประเทศ ทั้งการศึกษาวิจัย การฝกอบรม การจัดบริการ ใหการดูแลประชาชนกรณีเกิดเหตุการณ
        ดานอาชีวเวชศาสตรและเวชศาสตรสิ่งแวดลอม พัฒนามาตรฐานบริการ และการผลักดันนโยบายและกฎหมายตามพระราชบัญญัติโรคจากการ
        ประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอมกระทรวงสาธารณสุข โดยโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี  กรมการแพทย จัดบริการดานการรักษาพยาบาล และพัฒนา
        ศูนยความเปนเลิศดานอาชีวเวชศาสตรและเวชศาสตรสิ่งแวดลอมที่มีคุณภาพ และมีกรมควบคุมโรคเปนผูดูแลงานดานอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดลอม
        ใหมีมาตรฐานสากล โดยประสานความรวมมือกับเครือขายทั้งในและตางประเทศในการผลิตและพัฒนาผูเชี่ยวชาญ องคความรู กฎหมาย การเฝาระวัง
        ปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สงเสริมสนับสนุนถายทอดความรูใหเครือขายและประชาชน ผลักดันและติดตามการบังคับใชกฎหมายที่จำเปน
        เตรียมความพรอมในการจัดการภาวะคุกคามและภัยสุขภาพใหมๆ พัฒนาศักยภาพระบบ กลไกของเครือขายในการเฝาระวัง ปองกันควบคุมโรค
        และภัยสุขภาพ ซึ่งที่ผานมาพบวาทั้ง 2 กรม มีประเด็นการดำเนินงานใกลเคียงกัน และกลุมเปาหมายเดียวกัน จึงควรบูรณาการการทำงานรวมกัน
        เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดความซ้ำซอนในการทำงานดานอาชีวเวชศาสตรและเวชศาสตรสิ่งแวดลอม
            สำหรับความรวมมือดานอาชีวเวชศาสตรและเวชศาสตรสิ่งแวดลอมตามขอตกลงครั้งนี้ มีระยะเวลา 5 ป ประกอบดวย
            1. การจัดทำแผนที่วิจัยและการวิจัย
            2. พัฒนารูปแบบการจัดบริการ โดยเฉพาะการบริหารจัดการโครงการคลินิกโรคจากการทำงาน การจัดทำมาตรฐานการประเมินและรับรอง
               คุณภาพบริการ การจัดทําเกณฑการเฝาระวังและวินิจฉัยโรค และการตรวจทางหองปฏิบัติการ การตอบสนองตอเหตุการณดานอาชีวเวชศาสตร
               และเวชศาสตรสิ่งแวดลอม และการผลักดันใหมีการดําเนินงานตามความรวมมือกับตางประเทศที่แตละกรมจัดทํารวมกัน
            3. การจัดทําแผนกําลังคน หลักสูตรและการฝกอบรมบุคลากร
            4.  การรวมในการผลักดันนโยบาย การจัดทํารางพระราชบัญญัติ กฎกระทรวงหรือแนวทางตามพระราชบัญญัติโรคจากการประกอบอาชีพ
               และสิ่งแวดลอม
            ทั้งนี้ ขอมูลกระทรวงสาธารณสุข ในป พ.ศ.2560 พบผูปวยโรคจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ไมรวมเหตุจากการทำรายตนเอง คิดเปนอัตราปวย
        รอยละ 17.12 ตอประชากรแสนคน ปวยเพิ่มขึ้นจากป 2559 ที่พบอัตราปวย 14.47 ตอประชากรแสนคน จังหวัดที่พบอัตราปวยสูงสุด ไดแก สตูล
        แพร และอุตรดิตถ พบผูปวยซิลิโคสิส หรือโรคปอดจากฝุนหิน 195 คน จาก 28 จังหวัดทั่วประเทศ คิดเปนอัตราปวย 0.32 ตอประชากรแสนคน
        ลดลงจากป 2559 ที่พบ 236 คน อัตราปวย 0.39 ตอประชากรแสนคน สูงสุดในจังหวัดนครราชสีมา อุตรดิตถและมหาสารคาม
            สวนการเฝาระวังปองกันและควบคุมโรคจากมลพิษสิ่งแวดลอมไดดำเนินการอยางตอเนื่อง เชน ขยะอิเล็กทรอนิกส/ขยะอันตรายในพื้นที่ 5 จังหวัด
        ไดแก บุรีรัมย กาฬสินธุ อุบลราชธานี ฉะเชิงเทรา และราชบุรี  ไดคัดกรองสุขภาพฯ แรงงานในจังหวัดกาฬสินธุ พบมีอาการปวดเมื่อยกลามเนื้อ
        จากการยกของหนักมากที่สุดรอยละ 71.1 รองลงมาคือมีอาการผื่นคันผิวหนัง/คัดจมูกจากสัมผัสฝุน รอยละ 47.9 ผลการตรวจปสสาวะหาสารแคดเมียม
        ในรางกายกลุมผูมีอาชีพคัดแยกขยะอิเล็กทรอนิกส 173 ราย พบอยูในเกณฑปกติทุกราย สำหรับหมอกควันในภาคเหนือ พบอัตราปวยโรคระบบ
        ทางเดินหายใจในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน คิดเปน 14,370.75 ตอประชากรแสนคน สูงสุดในจังหวัดแมฮองสอน นาน และพะเยา ตามลำดับ
        ผูปวยสูงสุดในเดือนมกราคม สำหรับในภาคใตตอนลาง ไดติดตามขอมูลระดับฝุนละอองขนาดเล็กรายวัน

                                                                             ปที่ 1 ฉบับที่ 11 กันยายน 2561  สารกรมการแพทย
   2   3   4   5   6   7   8