Page 23 - พท21001
P. 23

17

                       5. เปลี่ยนบรรทัดใหแมนยํา โดยกวาดสายตากลับมาทางซายเพื่อขึ้นบรรทัดใหม

               เมื่ออานจบแตละบรรทัดและตองกําหนดบรรทัดใหแมนยําไมอานขามบรรทัด หรืออานซ้ําบรรทัด

                                                                       
               เดิมซึ่งทําใหความคิดสับสนการฝกในระยะแรกเริ่มอาจใชไมบรรทัดหรือกระดาษปดขอความ
                                                                                                    
               บรรทัดลางไว แลวเลื่อนลงเรื่อย ๆ  คอย ๆ เพิ่มความเร็วขึ้นจนชํานาญจึงอานโดยไมตองใชสิ่งอื่น
               มาปด

               การอานเพื่อเขาใจความหมายของสํานวน

                       การอานเพื่อทําความเขาใจ ความหมายของสํานวน ตองอาศัยถอยคําสิ่งแวดลอม บริบท

               เพื่อสรุปสาระสําคัญ

                       1. ความหมายของสํานวน สํานวน คือถอยคําที่มีความหมายไมตรงตามความหมายปกติ

               ของคํานั้น ๆ
                       2. หลักการอาน เพื่อเขาใจความหมายของสํานวน


                         2.1 อานขอความอยางละเอียด  เพื่อจับใจความสําคัญ  เขาใจเนอเรื่องและเขาใจ
                                                                                         ื้
               ความหมายของสํานวน

                         2.2 สังเกตเนื้อความตามบริบท ทําใหตีความหมายของสํานวนไดถูกตอง

                         2.3 ตีความหมายของสํานวน ตองตรงประเด็นตามบริบท


               การอานเพื่อเขาใจโวหารตาง ๆ

                                   
                                                              
                       ผูเขียนตองใชโวหารประกอบการเขียน เชน พรรณนาโวหาร อุปมาโวหาร สาธกโวหาร
               ฯลฯ เพื่อใหงานเขียนมีคุณคา
                       1. ความหมายของโวหาร

                         โวหาร คือ ทวงทํานองในการเรียบเรียงถอยคําทั้งในวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรอง

               โวหารที่ใชกันทั่วไปมี 5 โวหาร ดังนี้

                         1.1 บรรยายโวหาร  คือ การเลาเรื่องไปตามเหตุการณ  เชนการเขียนบทความ
                                                                                      
               การเลานิทาน เลาประวัติบุคคล ตํานาน ตองอธิบายใหเปนไปตามลําดับ

                         1.2 พรรณนาโวหาร  คือ  การเขียนเลาเรื่องอยางประณีตมักแทรกความรูสึกของ

                                                                           
               ผูเขียนดวยทําใหผูอานเกิดความรูและอารมณคลอยตาม  เชน  การพรรณนาความสวยงาม
               คุณความดีตลอดจนพรรณนาอารมณและความรูสึกในใจ ฯลฯ

                                                                                                      ี้
                         1.3  เทศนาโวหาร  คือ  กระบวนความอบรมสั่งสอน  อธิบายในเหตุผล  หรือชแจง
               ใหเห็นคุณและโทษ เพื่อใหผูอานเชื่อถือตาม
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28