Page 58 - พท21001
P. 58

52

               ชนิดและหนาที่ของคํา

                       คําที่ใชในภาษาไทยมี 7 ชนิด ไดแก คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ คําบุพบท

               คําสันธาน และคําอุทาน ซึ่งคําแตละชนิดมีหนาที่แตกตางกัน ดังนี้


                                                    ื่
                                             
                       1. คํานาม คือ คําที่ใชเรียกชอคน สัตว สิ่งของ สถานที่ และคําที่บอกกริยาอาการ
                                                                                              
                                        
               หรือลักษณะตาง ๆ ทําหนาที่เปนประธาน หรือกรรมของประโยค ตัวอยาง คําที่ใชเรียกชอ คน
                                                                                                    ื่
               สัตว สิ่งของทั่วไป เชน เด็ก หมู หมา กา ไก ปากกา ดินสอ โตะ เกาอี้  คําที่ใชเรียกชื่อเฉพาะ
                                           ี
                                     
                                                                            
               บุคคล หรือสถานที่ เชน วิเชยร พิมพาพร วัด โรงเรียน  คําที่ใชแสดงการรวมกันเปนหมวดหมู
                  
                                                                                         
                                                
               เชน กรม กอง ฝูง โขลง  คําที่ใชบอกอาการ หรือคุณลักษณะที่ไมมีตัว เชน คําวา การยืน
                                        ั่
               การนอน ความดี ความชว คํานามที่บอกลักษณะ เชน คําวา “แทง” ดินสอ 2 แทง “ตัว”
                                                                    
               แมว 3 ตัว เปนตน
                       2. คําสรรพนาม คือ คําที่ใชแทนคํานาม หรือขอความที่กลาวมาแลวในกรณีที่ไม

                                 ั้
                                               
                                                    
                                                                                                        
               ตองการกลาวคํานนซ้ําอีก ทําหนาที่เชนเดียวกับคํานาม  ตัวอยาง คําสรรพนามแทนผูพูด เชน
                                                                                                   
               ขา ขาพเจา ผม กระผม เรา ฉัน อาตมา  คําสรรพนามแทนผูฟง หรือผูกําลังพูดดวย เชน ทาน
                                                                         
               เธอ เอง มึง พระคุณเจา  คําสรรพนามที่แทนผูที่เรากลาวถึงเชน เขา พวกเขา พวกมัน  คําสรรพ
                                                       
                                                   ี่
                                                           
                                                                                              
                                                               ั่
                                               
               นามที่กําหนดใหรูความใกลไกล เชน น โนน โนน นน  คําสรรพนามที่เปนคําถาม เชน ใคร อะไร
               อันไหน ที่ไหน  เปนตน
                       3. คํากริยา คือ คําที่แสดงกริยาอาการของการกระทําอยางใดอยางหนงของคํานาม
                                                                                             ึ่
               คําสรรพนาม หรือแสดงการกระทําของประธานในประโยค  ใชวางตอจากคําที่เปนประธาน
                                                                              
               ของประโยค
                       คํากริยาจะแบงเปน 2 ประเภทคือ กริยาที่ตองมีกรรมมารับประโยคจึงจะสมบูรณและ

               กริยาที่ไมตองมีกรรมมารับประโยคก็จะมีใจความสมบูรณ คํากริยาที่จะตองมีกรรมมารับประโยค

               จึงจะมีใจความสมบูรณ เชน จิก กิน ตี ซื้อ ขาย ฯลฯ ขอความวา นกจิก ก็ยังไมมีความหมาย
                                         
               สมบูรณเปนประโยค เพราะไมทราบวานกจิกอะไร ถาเติมคําวา แมลง เปน นกจิกแมลง ก็จะได

                                                                                                        ั่
                                                                                     
               ความสมบูรณเปนประโยค เปนตน สวนคํากริยาที่ไมตองมีกรรมมารับ เชน คํา ปด เปด บิน นง
                                                                            ั่
                                                             
               นอน ยืน ฯลฯ ประโยควา นกบิน ประตูปด หนาตางเปด คนนง ก็ไดความหมายสมบูรณ เปน
               ประโยคโดยไมตองมีกรรมมารับ
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63