Page 61 - พท21001
P. 61

55

               เราสามารถรวมประโยคความเดียวทั้ง 2 ประโยคเขาดวยกัน ดังนี้

                                     “จารุณีและอรัญญาเดินทางไปเชียงใหม”

                                      ประโยคที่ 1  เราจะประสบความลมเหลว  ประโยคที่ 2  เราไมทอถอย


                                           รวมประโยคไดวา  “แมเราจะประสบความลมเหลวเราก็ไมทอถอย”

                                2.2 ประโยคที่มีเนื้อความขัดแยงกัน เชน


                                     ประโยคที่ 1     พี่ขยัน      ประโยคที่ 2     นองเกียจคราน

                                   รวมประโยควา  “พี่ขยันแตนองเกียจคราน”


                                2.3 ประโยคที่มีใจความเลือกเอาอยางใดอยางหนึ่ง

                                     ประโยคที่ 1   เธอชอบดูภาพยนตร    ประโยคที่ 2   เธอชอบดูโทรทัศน

                                       รวมประโยควา  “เธอชอบดูภาพยนตรหรือโทรทัศน”


                                2.4 ประโยคที่มีขอความเปนเหตุเปนผลกัน โดยมีขอความที่เปนเหตุอยูขางหนา

               ขอความที่เปนผลอยูหลัง

                                      ประโยคที่ 1     เขาขับรถเร็วเกินไป  ประโยคที่ 2     เขาถูกรถชน


                                      รวมประโยควา  “เขาขับรถเร็วเกินไปเขาจึงถูกรถชน”

                              3. ประโยคซอนกัน (สังกรประโยค) คือประโยคที่มีขอความหลายประโยค


               ขอความอยูในประโยคเดียวกัน เพื่อใหขอความสมบูรณยิ่งขึ้น

                                   1. ประโยคหลักเรียกวา มุขยประโยค ซึ่งเปนประโยคสําคัญมีใจความสมบูรณ

               ในตัวเอง

                                   2. ประโยคยอย เรียกวา อนุประโยค ประโยคยอยนจะตองอาศัยประโยคหลัง
                                                                                 ี้
               จึงจะไดความสมบูรณ

                           ตัวอยาง

                           สรพงษเดินทางไปสงขลาเพื่อแสดงภาพยนตร

                           เขาประสบอุบัติเหตุเพราะความประมาท

                           คนที่ปราศจากโรคภัยไขเจ็บเปนคนโชคดี
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66