Page 59 - พท21001
P. 59

53

                       4. คําวิเศษณ  คือ คําที่ใชประกอบคํานาม คําสรรพนาม และคํากริยา เพื่อบอก

                                                  ั้
               ลักษณะ หรือรายละเอียดของคํานน ๆ คําวิเศษณสวนมากจะวางอยูหลังคําที่ตองการบอก
               ลักษณะ หรือรายละเอียด ตัวอยางเชน คําวา รอน เย็น สูง ต่ํา เล็ก ใหญ ฯลฯ นกนอยบินสูง
                                                   
               เปนตน

                       5. คําบุพบท  คือ คําที่แสดงความสัมพันธระหวางประโยค หรือคําหนากับประโยค
                                                                                             
               หรือคําหลัง จะบอกความเปนเจาของ บอกสถานที่ แสดงความเปนผูรับ หรือแสดง ตัวอยาง


               คําบุพบทบอกสถานที่ เชน ใกล ไกล ใน นอก บน ลาง “ลิงอยูบนตนไม” เปนตน
                                                                                   ี้
                                                        
                       คําบุพบทบอกความเปนเจาของ เชน ของ แหง “หนงสือเลมนเปนของฉัน” คําบุพบท
                                                                         ั
               แสดงความเปนผูรับ หรือแสดง เชน โดย เพื่อ ดวย กับ แก แด ตอ โดย เปนตน
                       6. คําสันธาน  คือ คําที่ใชเชื่อมขอความ หรือประโยคใหเปนเรื่องเดียวกัน

                                                                     
               ตัวอยาง คําสันธานที่ใชเชอมขอความที่โตแยงกัน เชน แต “พอไปทํางานแตแมอยูบาน”
                                       
                                          ื่
               กวา...ก็, ถึง...ก็ “กวาถั่วจะสุกงาก็ไหม” คําสันธานที่ใชเชื่อมความที่คลอยตามกัน เชน กับ

                                                                                                 ื่
               “คุณแมกับพี่สาวไปตลาด” พอ...ก็, ครั้น...ก็ “พอฝนตกฟาก็มืด” คําสันธานที่ใชเชอมความ
                                                                                               
                       ุ
               เปนเหตเปนผลกัน เชน เนองจาก....จึง “เนื่องจากฉันตื่นสายจึงไมทันรถ” เพราะ “การที่วัยรุน
                                    
                                        ื่
               ติดยาเสพติดเพราะมีปญหาครอบครัว”  เปนตน

                       7. คําอุทาน คือ คําที่เปลงออกมาแสดงถึงอารมณ หรือความรูสึกของผูพูด มักอยูหนา
                                                                                                        

               ประโยค และใชเครื่องหมายอัศเจรีย ( ! ) กํากับหลังคําอุทาน  ตัวอยาง คําอุทานไดแก  โธ!  อุย!

               เอา!  อา!  “อุย! นึกวาใคร”


               หนาที่ของวลี

                       วลี เปนกลุมคําที่ทําหนาที่สื่อความหมาย และทําหนาที่เปนประธาน กริยา และกรรม
                                             
                                                                          
               ของประโยค
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64