Page 33 - เศรษฐกิจต้นnew.indd
P. 33

26



                               3. มีการวางแผนที่สมบูรณแบบ สําหรับเกษตรกรรายยอย 3 ขั้นตอน เพื่อใหพอเพียง

                        สําหรับเลี้ยงตนเองและเพื่อเปนรายได

                               ขั้นที่ 1 ทฤษฎีใหมขั้นตน  สถานะพื้นฐานของเกษตรกร คือ มีพื้นที่นอย คอนขางยากจน

                        อยูในเขตเกษตรน้ําฝนเปนหลัก โดยในขั้นที่ 1 นี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางเสถียรภาพของการผลิต

                        เสถียรภาพดานอาหารประจําวัน ความมั่นคงของรายได ความมั่นคงของชีวิต และความมั่นคง

                        ของชุมชนชนบท เปนเศรษฐกิจพึ่งตนเองมากขึ้น มีการจัดสรรพื้นที่ทํากินและที่อยูอาศัย

                        ใหแบงพื้นที่ ออกเปน 4 สวน ตามอัตราสวน 30 : 30 : 30 : 10  ซึ่งหมายถึง พื้นที่สวนที่หนึ่ง
                        ประมาณ 30%        ใหขุดสระเก็บกักน้ํา เพื่อใชเก็บกักน้ําฝนในฤดูฝนและใชเสริมการปลูกพืช


                        ในฤดูแลง ตลอดจนการเลี้ยงสัตวน้ําและพืชน้ําตาง ๆ (สามารถเลี้ยงปลา ปลูกพืชน้ํา เชน ผักบุง
                        ผักกะเฉดฯ ไดดวย) พื้นที่สวนที่สองประมาณ 30%  ใหปลูกขาวในฤดูฝน เพื่อใชเปนอาหาร

                        ประจําวันในครัวเรือนใหเพียงพอตลอดป เพื่อตัดคาใชจายและสามารถพึ่งตนเองได พื้นที่สวนที่

                        สามประมาณ 30% ใหปลูกไมผล ไมยืนตน พืชผัก พืชไร พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใชเปนอาหาร

                        ประจําวัน หากเหลือบริโภคก็นําไปจําหนาย และพื้นที่สวนที่สี่ประมาณ 10% ใชเปนที่อยูอาศัย

                        เลี้ยงสัตว และโรงเรือนอื่น ๆ (ถนน คันดิน กองฟาง ลานตาก กองปุยหมัก โรงเรือน โรงเพาะเห็ด

                        คอกสัตว ไมดอกไมประดับ พืชผักสวนครัวหลังบาน เปนตน)

                               ทฤษฎีใหมขั้นกาวหนา  เมื่อเกษตรกรเขาใจในหลักการและไดลงมือปฏิบัติตามขั้นที่

                        หนึ่งในที่ดินของตนเปนระยะเวลาพอสมควรจนไดผลแลว เกษตรกรก็จะพัฒนาตนเองจากขั้น

                        “พออยูพอกิน” ไปสูขั้น “พอมีอันจะกิน” เพื่อใหมีผลสมบูรณยิ่งขึ้น จึงควรที่จะตองดําเนินการ

                        ตามขั้นที่สองและขั้นที่สามตอไปตามลําดับ (มูลนิธิชัยพัฒนา, 2542)

                               ขั้นที่ 2 ทฤษฎีใหมขั้นกลาง  เมื่อเกษตรกรเขาใจในหลักการและไดปฏิบัติในที่ดินของ

                        ตนจนไดผลแลว ก็ตองเริ่มขั้นที่สอง คือ ใหเกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุม หรือ สหกรณ

                        รวมแรง รวมใจกันดําเนินการในดาน

                               (1)  การผลิต เกษตรกรจะตองรวมมือในการผลิตโดยเริ่มตั้งแต ขั้นเตรียมดิน การหา

                        พันธุพืชปุย การหาน้ํา และอื่น ๆ เพื่อการเพาะปลูก

                               (2)  การตลาด เมื่อมีผลผลิตแลว จะตองเตรียมการตาง ๆ เพื่อการขายผลผลิตใหได

                        ประโยชนสูงสุด เชน การเตรียมลานตากขาวรวมกัน การจัดหายุงรวบรวมขาว เตรียมหาเครื่อง
                        สีขาว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตใหไดราคาดี และลดคาใชจายลงดวย








                                                                     เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21001  33
                                                                                          ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38