Page 9 - เศรษฐกิจต้นnew.indd
P. 9
2
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดเชิญผูทรงคุณวุฒิจาก
หนวยงานตางๆ มารวมกันพิจารณา กลั่นกรอง พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
ที่ไดพระราชทานแกปวงชนชาวไทยในโอกาสตางๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงแลว
สรุปเปนนิยามความหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และไดอัญเชิญเปนปรัชญานําทางใน
การจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) และฉบับที่
10 (พ.ศ. 2550 - 2554) เพื่อสงเสริมใหประชาชนทุกระดับและทุกภาคสวนของสังคมมีความ
เขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนําไปเปนพื้นฐานและแนวทางในการดําเนินชีวิต
อันจะนําไปสูการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน ประชาชนมีความเปนอยูรมเย็นเปนสุข สังคมมีความ
เขมแข็ง และประเทศชาติมีความมั่นคง
หลักแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ไดพัฒนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงเพื่อที่จะใหพสกนิกรชาวไทยไดเขาถึงทางสายกลางของชีวิตและเพื่อคงไวซึ่งทฤษฎีของ
การพัฒนาที่ยั่งยืน ทฤษฎีนี้เปนพื้นฐานของการดํารงชีวิตซึ่งอยูระหวางสังคมระดับทองถิ่นและ
ตลาดระดับสากล จุดเดนของแนวปรัชญานี้คือแนวทางที่สมดุล โดยใชหลักธรรมชาติที่เปนเหตุ
เปนผลอยางเชื่อมโยง พัฒนาใหทันสมัย และกาวสูความเปนสากลได โดยปราศจากการตอตาน
กระแสโลกาภิวัตน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความสําคัญในชวงป พ.ศ. 2540 เมื่อปที่ประเทศ
ไทยตองการรักษาความมั่นคงและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจเพื่อที่จะยืนหยัดในการพึ่งตนเอง
และพัฒนานโยบายที่สําคัญเพื่อการฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศ โดยการสรางแนวคิดเศรษฐกิจ
ที่พึ่งตนเองได ซึ่งคนไทยจะสามารถเลี้ยงชีพโดยอยูบนพื้นฐานของความพอเพียงและการนํา
แนวคิดดังกลาวมาใชก็ไดผานการทดลองในพระตําหนักสวนจิตรลดารโหฐานและโครงการ
ในภูมิภาคตาง ๆ หลายโครงการ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมีพระราชดําริวา มันไมไดมีความจําเปนที่เราจะกลายเปน
ประเทศอุตสาหกรรมใหม (NIC) พระองคไดทรงอธิบายวา ความพอเพียงและการพึ่งตนเอง คือ
ทางสายกลางที่จะปองกันการเปลี่ยนแปลงความไมมั่นคงของประเทศได และการดําเนินชีวิตตาม
หลักเศรษฐกิจพอเพียงเชื่อวาจะสามารถปรับเปลี่ยนโครงสรางทางสังคมของชุมชนใหดีขึ้น
โดยมีปจจัย 2 อยาง คือ
เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น : ทช21001 9
ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์