Page 14 - เศรษฐกิจต้นnew.indd
P. 14

7                                                                                                                           8



                 เรื่องที่ 2 ความหมาย และหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง                                                                    ไมลดหลั่น จึงขอใหทุกคนพยายามที่จะทํางานในหนาที่อยางเต็มที่ และใหมีการประชาสัมพันธ

                 ความหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง                                                                                           กันใหดี เพื่อใหงานทั้งหมดเปนงานที่เกื้อหนุนสนับสนุนกัน...”

                        ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่เปนแนวคิด หลักการ และแนวทางปฏิบัติตน                                                3.  ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ใหใชและจัดการอยางฉลาดพรอมทั้งการ

                 ของแตละบุคคลและองคกรทุกระดับตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน และระดับประเทศ                                               เพิ่มมูลคาโดยใหยึดหลักการของความยั่งยืนและเกิดประโยชนสูงสุด ดังกระแสพระราชดํารัส

                 ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยคํานึงถึงความ
                                                                                                                                            ความวา “...ถารักษาสิ่งแวดลอมใหเหมาะสม นึกวาอยูไดอีกหลายรอยป ถึงเวลานั้นลูกหลาน
                 พอประมาณกับศักยภาพตนเองและสภาวะแวดลอม ความมีเหตุผลและการมีภูมิคุมกันที่ดีใน

                 ตัวเองโดยใชความรูอยางถูกหลักวิชาการดวยความรอบคอบและระมัดระวังควบคูไปกับการมี                                          ของเรามาก็อาจหาวิธีแกปญหาตอไปเปนเรื่องของเขา ไมใชเรื่องของเรา แตเราก็ทําได ไดรักษา
                 คุณธรรม ไมเบียดเบียนกัน แบงปน ชวยเหลือซึ่งกันและกันและรวมมือปรองดองกันในสังคมซึ่ง                                     สิ่งแวดลอมไวใหพอสมควร...”


                 นําไปสูความสามัคคีการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืนพรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงภายใตกระแส                                                 4.  ดานเทคโนโลยี จากสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็วเทคโนโลยีที่เขามาใหมทั้ง
                 โลกาภิวัตนได                                                                                                             ดีและไมดี จึงตองแยกแยะบนพื้นฐานของภูมิปญญาชาวบาน และเลือกใชเฉพาะที่สอดคลองกับ

                 หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                                                                                                                                            ความตองการของสภาพแวดลอม ภูมิประเทศ สังคมไทยและควรพัฒนาเทคโนโลยีจาก

                        พระราชดํารัสที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระราชทานแกพสกนิกรชาวไทยใน
                                                                                                                                            ภูมิปญญาของเราเอง ดังกระแสพระราชดํารัสความวา “...การสงเสริมที่ชาวบานชาวชนบทขาด
                 เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงนั้น คือการมุงเนนใหยึดวิถีชีวิตไทย โดยหันกลับมายึดเสนทางสายกลาง
                                                                                                                                            แคลน และความตองการ คือ ความรูในดานเกษตรกรรมโดยใชเทคโนโลยีสมัยใหมเปนสิ่งที่

                 (มัชฌิมาปฏิปทา) ในการดําเนินชีวิตใหสามารถพึ่งตนเองได โดยใชหลักการพึ่งตนเอง 5
                                                                                                                                            เหมาะสม...” “...การใชเทคโนโลยีอยางใหญโตเต็มรูปหรือเต็มขนาดในงานอาชีพหลักของ
                 ประการ คือ (สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก
                                                                                                                                            ประเทศยอมจะมีปญหา...”
                 พระราชดําริ,  2547:2-3)
                                                                                                                                                   5.  ดานเศรษฐกิจ แตเดิมนักพัฒนามักมุงที่จะเพิ่มรายไดและไมมีการมุงที่การลด

                        1.  ดานจิตใจ ทําตนใหเปนที่พึ่งของตนเอง มีจิตใจที่เขมแข็ง มีจิตสํานึกที่ดี สรางสรรค
                                                                                                                                            รายจาย ในเวลาเชนนี้จะตองปรับทิศทางใหม คือ จะตองมุงลดรายจายกอนเปนสําคัญและยึด
                 ใหตนเองและชาติโดยรวม มีจิตใจเอื้ออาทร ประนีประนอม ซื่อสัตยสุจริต เห็นประโยชน
                                                                                                                                            หลักพออยู พอกิน พอใช และสามารถอยูไดดวยตนเองในระดับเบื้องตน ดังกระแสพระราชดํารัส
                 สวนรวมเปนที่ตั้งดังกระแสพระราชดํารัสในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เกี่ยวกับการพัฒนา
                                                                                                                                            ความวา “...การที่ตองการใหทุกคนพยายามที่จะหาความรูและสรางตนเองใหมั่นคงนี้เพื่อตนเอง
                 ความวา “...บุคคลตองมีรากฐานทางจิตใจที่ดี คือ ความหนักแนนมั่นคงในสุจริตธรรมและความ
                                                                                                                                            เพื่อที่จะใหตัวเองมีความเปนอยูที่กาวหนา ที่มีความสุขพอมี พอกิน เปนขั้นหนึ่งและขั้นตอไป
                 มุงมั่นที่จะปฏิบัติหนาที่ใหจนสําเร็จ ทั้งตองมีกุศโลบายหรือวิธีการอันแยบยลในการปฏิบัติงาน
                                                                                                                                            ก็คือใหมีเกียรติวายืนไดดวยตนเอง...” “...หากพวกเรารวมมือรวมใจกันทําสักเศษหนึ่งสวนสี่

                 ประกอบพรอมดวยจึงจะสัมฤทธิ์ผลที่แนนอนและบังเกิดประโยชนอันยั่งยืนแกตนเองและ
                                                                                                                                            ประเทศชาติของเราก็สามารถรอดพนจากวิกฤติได...”
                 แผนดิน...”

                        2.  ดานสังคม แตละชุมชนตองชวยเหลือเกื้อกูลกัน เชื่อมโยงกันเปนเครือขายชุมชน


                 ที่แข็งแรง เปนอิสระ ดังกระแสพระราชดํารัสความวา “...เพื่อใหงานรุดหนาไปพรอมเพรียงกัน






             14   เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21001
                  ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19