Page 10 - เศรษฐกิจต้นnew.indd
P. 10
3
1. การผลิตจะตองมีความสัมพันธกันระหวางปริมาณผลผลิตและการบริโภค
2. ชุมชนจะตองมีความสามารถในการจัดการทรัพยากรของตนเองอยางครบวงจร
ผลที่เกิดขึ้น คือ
1. เศรษฐกิจพอเพียงสามารถที่จะคงไวซึ่งขนาดของประชากรที่ไดสัดสวน
2. ใชเทคโนโลยีไดอยางเหมาะสม
3. รักษาความสมดุลของระบบนิเวศ และปราศจากการแทรกแซงจากปจจัยภายนอก
ปจจุบันแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดมีการนําไปใชเปนนโยบายของรัฐบาล และ
ปรากฏในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 (1) วา “การบริหาร
ราชการแผนดินใหเปนไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศอยางยั่งยืน
โดยตองสงเสริมการดําเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และคํานึงถึงผลประโยชนของ
ประเทศชาติในภาพรวมเปนสําคัญ”
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยูบนพื้นฐานทางสายกลาง
และความไมประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันในตัว
ที่ดีตลอดจนใชความรู ความรอบคอบ และคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการ
กระทํา
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีหลักการพิจารณา 5 สวน ดังนี้
1. กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงชีวิตและการปฏิบัติตนในทาง
ที่ควรจะเปนโดยมีพื้นฐานจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทยที่นําประยุกตใชไดตลอดเวลา และ
เปนการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัยและ
วิกฤติเพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา
2. คุณลักษณะของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการ
ปฏิบัติตนไดในทุกระดับโดยเนนการปฏิบัติบนทางสายกลางและการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน
3. คํานิยามความพอเพียง ประกอบดวย 3 คุณลักษณะ ดังนี้
3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป
โดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น การจะทําอะไรตองมีความพอดี พอเหมาะ พอควร ตอความ
จําเปน เหมาะสมกับฐานะของตนเอง สภาวะสังคมแวดลอม รวมทั้งวัฒนธรรมในแตละทองถิ่น
10 เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น : ทช21001
ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์