Page 64 - ศิลปศึกษาทช21003.indd
P. 64
56
การละเลนพื้นเมือง
การละเลนพื้นเมืองมีลักษณะของรูปแบบการแสดงนาฏศิลปไทยอยางไร
การละเลนพื้นเมือง เปนศิลปะแหงการรายรําที่มีทั้งรํา ระบํา หรือการละเลนที่เปน
เอกลักษณของกลุมชนตามวัฒนธรรมไทยในแตละภูมิภาค ซึ่งแบงออกเปน 4 ภาค คือ
1. ภาคเหนือ ไดแก ฟอนเล็บ ฟอนเทียน ฟอนสาวไหม และฟอนเจิง
2. ภาคกลาง ไดแก เตนกํารําเคียว รําโทน หรือรําวง รํากลองยาว และรํา
เถิดเทิง
3. ภาคอีสาน ไดแก เซิ้งบั้งไฟ ฟอนภูไท ลํากลอนเกี้ยว และลําเตย
4. ภาคใต ไดแก โนรา หนังตะลุง รองเง็ง และลิเกฮูลู
1. นาฏศิลปไทยภาคเหนือ มีรูปแบบการแสดงอยางไร
ภาคเหนือ มีรูปแบบการแสดง เปนศิลปะการรําและการละเลนหรือที่นิยม
เรียกวา ฟอน การฟอนเปนวัฒนธรรมของชาวลานนาและกลุมชนเผาตาง ๆ ลักษณะของการ
ฟอน แบงเปนแบบดั้งเดิมกับแบบปรับปรุงใหม แตยังมีเอกลักษณการแสดงไวคือ ลีลาทารํา
แชมชาออนชอย แตงกายตามวัฒนธรรมทองถิ่นประกอบกับการบรรเลงและขับรองดวยวงสะ
ลอ ซอ ซึ้ง วงปูเจ วงกลองแอว
2. นาฏศิลปภาคกลางมีรูปแบบการแสดงอยางไร
ภาคกลาง มีรูปแบบการแสดงเปนศิลปะการรายรํา และการละเลนของชนชาว
พื้นเมืองภาคกลาง ซึ่งสวนใหญมีอาชีพเกี่ยวกับเกษตรกรรม ศิลปะการแสดงจึงมีความ
สอดคลองกับวิถีชีวิตและเพื่อความบันเทิง สนุกสนาน เปนการพักผอนหยอนใจจากการทํางาน
หรือเมื่อเสร็จจากเทศกาลฤดูเก็บเกี่ยว มีการแตงกายตามวัฒนธรรมของทองถิ่น และใชเครื่อง
ดนตรีพื้นเมือง เชน กลองยาว กลองโทน ฉิ่ง ฉาบ กรับและโหมง
3. นาฏศิลปภาคอีสานมีรูปแบบการแสดงอยางไร
ภาคอีสานหรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีรูปแบบการแสดงแบงไดเปน 2
กลุมวัฒนธรรม คือ กลุมอีสานเหนือ มีวัฒนธรรมไทยลาว ซึ่งมักเรียกการละเลนวา เซิ้ง
ฟอน หมอลํา ใชเครื่องดนตรีประกอบ ไดแก แคน พิณ ซอ กลองยาว ฉิ่ง ฉาบ ฆอง กรับ
ภายหลังเพิ่มเติมโปงลางและโหวด เขามาดวย สวนกลุมอีสานใต มีวัฒนธรรมไทยเขมร เรียก
การละเลนวา เรือมหรือเร็อม เชน เรือมลูด อันเร หรือรํากระทบสาก รํากระเน็บติงต็อง หรือ
ระบําตั๊กแตนตําขาว มีเครื่องดนตรี คือ ซอดวง กลองกันตรึม พิณ ระนาดเอกไม ปสไล กลอง
64 ศิลปศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น : ทช21003
ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์