Page 68 - ศิลปศึกษาทช21003.indd
P. 68
60
เรื่องที่ 3.4 รําวงมาตรฐาน
รําวงมาตรฐานมีวิวัฒนาการอยางไร
รําวงมาตรฐาน เปนการแสดงที่มีวิวัฒนาการมาจากรําโทน เปนการรายรํา
ประกอบการตีกลองชนิดหนึ่งเรียกวา โทนและรองเพลงไปดวย รูปแบบของการรําโทนไมมี
กฎเกณฑตายตัว สามารถดัดแปลง สรางเพลงและทารําใหม ๆ ขึ้นไดเรื่อย ๆ บงบอกถึงความ
สนุกสนาน ซึ่งแตเดิมรําโทนก็เลนกันเปนวง จึงเรียกวา “รําวง” แตเดิมไมมีคําวา “มาตรฐาน”
จะเรียกกันวารําวงเทานั้น ตอมาราวสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2482 –พ.ศ. 2488) ไดมีการ
ปรับปรุงการเลนรําโทนใหงดงามตามแบบของกรมศิลปากร ทั้งการรองที่เปนเพลงที่มีเนื้อรอง
สุภาพใชคํางาย ทํานองเพลงงาย มุงใหเห็นวัฒนธรรมของชาติเปนสวนใหญ เพลงในรําวง
มาตรฐานมีทั้งหมด 10 เพลง แตละเพลงจะบอกทารําที่มีการประดิษฐใหมใหเปนมาตรฐาน
14 ทา มีการกําหนดเครื่องดนตรีที่ใชบรรเลงประกอบการรํามีระนาด ฉิ่ง กรับพวง เพิ่มเขาไป
ไวใหพรอม สําหรับการแสดง ซึ่งจะใชผูแสดงหญิงชายไมนอยกวา 5 คู
จงบอกชื่อเพลงรําวงมาตรฐานและทารําที่ใช
ชื่อเพลง ทารํา
1. งามแสงเดือน 1. สอดสรอยมาลา
2. ชาวไทย 2. ชักแปงผัดหนา
3. รํามาซิมารํา 3. รําสาย
4. คืนเดือนหงาย 4. สอดสรอยมาลาแปลง
5. ดวงจันทรวันเพ็ญ 5. แขกเตาเขารัง, ผาลาเพียงไหล
6. ดอกไมของชาติ 6. รํายั่ว
7. หญิงไทยใจงาม 7. พรหมสี่หนา, ยูงฟอนหาง
8. ดวงจันทรขวัญฟา 8. ชางประสานงา, จันทรทรงกลดแปลง
9. ยอดชายใจหาญ 9. (หญิง) ชะนีรายไม (ชาย) จอเพลิง
10. บูชานักรบ กาฬ
10. เที่ยวแรก (หญิง) ขัดจางนาง
(ชาย) จันทรทรงกลด
เที่ยวสอง (หญิง) ลอแกว
(ชาย) ขอแกว
68 ศิลปศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น : ทช21003
ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์