Page 15 - งานฝึกสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง
P. 15
2
1.3.4 วารสารที่เข้าเล่มไม่แน่นหนา บางหน้าหลุดหลุ่ย หรือใช้ไปสักระยะ
สันจะหลุด หน้ากระดาษจะหลุดออกมา ต้องจัดหน้าใหม่กระดาษให้เข้าที่แล้วหาตัวยึดกาว เย็บติดกับ
ลวดเย็บ กระดาษ หรือเจาะเย็บสันอย่างง่าย ถ้าหากวารสารช ารุดมาก แก้ไขยาก เสียเวลามาก ต้อง
รีบส่งกลับไปขอเปลี่ยนกับผู้จ าหน่ายเป็นฉบับที่สมบูรณ์ให้รีบต าเนินการเปลี่ยน เพราะถ้าหาก ชักซ้ า
วารสารอาจหมดก่อน
1.1.4 วารสารที่ได้รับบริจาค ห้องสมุดควรน าหนังสือตอบขอบคุณไปยังผู้บริจาคทุก
ครั้ง หากไม่มีหนังสือน าส่ง อาจดูรายละเอียด ชื่อที่อยู่ของผู้มอบจากหน้าซองกระดาษห่อ หรือ
รายการผู้จัดพิมพ์วารสาร
1.1.5 จัดแยกวารสารฉบับภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ เพื่อเตรียมประทับตราและ
ลงทะเบียนต่อไป
1.2 การประทับตราวารสาร
การประทับตราวารสารใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงความเป็นเจ้าของวารสารของ
ห้องสมุด สั่งเกตได้จากสัญลักษณ์ที่เป็นตรายางที่ประทับว่าเป็นตราห้องสมุดนั่นเอง บริเวณที่ประทับ
ควร ก าหนดให้อยู่ในส่วนที่มองเห็นได้ง่าย และเป็นหน้าส าคัญ ซึ่งตราที่ใช้ประทับแบ่งเป็น 3 ประเภท
1.2.1 ตราห้องสมุด (ตรากลม) ประทับหน้าปกหน้าต่ าจากขอบบน1 นิ้ว และห่าง
ขอบ ขวา1นิ้ว หรือบริวณที่ว่างที่มองเห็นได้ชัด หน้าปกใน หน้าสารบัญ หน้าลับเฉพาะ หน้าที่มี ภาพ
ส าคัญ หน้าสุดท้ายของเนื้อหา และปกแข็ง กรณีที่วารสารนั้นมีหน้าไม่ถึงหน้า 21 อาจ เลือกหน้าลับ
เฉพาะส าหรับกรณีนี้เป็นหน้า 11 หรือหน้า 9 ในกรณีที่วารสารฉบับใดฉบับหนึ่ง ไม่ได้เริ่มต้นเลขหน้า
ด้วยหน้า 1 เช่น เริ่มตันด้วยหน้า 110 ให้ประทับตราหน้าที่ลงท้ายด้วย 21 หรือ 11 เช่น 111 121 ที่
สอดคล้องกับหน้าลับเฉพาะที่ห้องสมุดก าหนด หรือถ้าวารสารไม่มีเลข หน้าให้นับหน้าที่ 1 ของ
วารสารป็นหน้ 1 จนถึงหน้าที่ก าหนดเป็นหน้าลับเฉพาะจึงประทับตรา
1.2.2 ตรายางวันที่ ประทับใต้ตราห้องสมุดทุกจุดที่ประทับ เช่น หลังปกใน หน้าลับ
เฉพาะเพื่อเป็นหลักฐานวันที่รับวารสารเข้าห้องสมุด
1.2.3 ตราห้องสมุดชนิดสี่เหลี่ยม ให้ประทับตราขอบ 3 ด้านของวารสาร
การประทับตรามีข้อควรระวัง ดังนี้
1) ควรหลีกเลี่ยงการประทับตราบนตัวอักษร
2) ควรใช้หมึกแต่พอเหมาะไม่มากหรือน้อยเกินไป เพราะจะท าให้ตราที่ประทับ
เปรอะเปรื่อนหรืออาจไม่ชัดเจน
3) การประทับตราให้หันด้านหมุดของตรายางออกนอกตัวผู้ประทับ ตรายางจึงจะตั้ง
หรืออาจลองประทับในกระดาษอื่นๆ ก่อนประทับจริงในวารสาร ขั้นตอนการประทับตราวารสาร
แสดงดังภาพที่ 6-8
1.3 การลงทะเบียนวารสาร
การลงทะเบียนเป็นสิ่งส าคัญ เนื่องจากเป็นเอกสารที่ระบุชัดเจนว่าวารสารนั้น ๆ มี
อยู่ในห้องสมุดหรือไม่ รับมาเมื่อไร เล่มไหนไม่มีอยู่ในห้องสมุด โดยลงทะเบียนมี 2 วิธี ได้แก่
ลงทะเบียนด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะกล่าวรายละเอียดต่อไป (สุริทอง ศรีสะอาด. 2536 : 45-46) ทั้งที่