Page 76 - ห้องสมุด
P. 76
76 | ห น้ า
เรื่องที่ 7 ลักษณะของคําไทย คําภาษาถิ่น และคําภาษาตางประเทศในภาษาไทย
การนําคําภาษาถิ่นและภาษาตางประเทศมาใชในภาษาไทย จึงทําใหภาษาไทยมีคําที่ใช
สื่อความหมายหลากหลายและมีจํานวนมากขึ้น ซึ่งไมวาจะเปนคําไทย คําภาษาถิ่น หรือคําภาษา
ตางประเทศตางก็มีลักษณะเฉพาะที่แตกตางกัน
1. ลักษณะของคําไทย มีหลักการสังเกต ดังนี้
1.1 มีลักษณะเปนคําพยางคเดียวโดดๆ มีความหมายชัดเจน เปนคําที่ใชเรียกชื่อ คน สัตว
สิ่งของ เชน แขน ขา หัว พอ แม เดิน วิ่ง นอน ฯลฯ
แตมีคําไทยหลายคําหลายพยางคซึ่งคําเหลานี้มีสาเหตุมาจากการกรอนเสียงของคําหนาที่
นํากรอนเปนเสียงสั้น (คําหนากรอนเปนเสียงสั้น) กลายเปนคําที่ประวิสรรชนีย เชน
มะมวง มาจาก หมากมวง
มะนาว มาจาก หมากนาว
มะกรูด มาจาก หมากกรูด
ตะขบ มาจาก ตนขบ
ตะขาบ มาจาก ตัวขาบ
- การแทรกเสียง หมายความวา เดิมเปนคําพยางคเดียว 2 คําวางเรียงกัน ตอมาแทรก
เสียงระหวางคําเดิม 2 คํา และเสียงที่แทรกมักจะเปนเสียงสระอะ เชน
ผักกะเฉด มาจาก ผักเฉด
ลูกกระดุม มาจาก ลูกดุม
ลูกกะทอน มาจาก ลูกทอน
- การเติมเสียงหนาพยางคหนา เพื่อใหมีความหมายใกลเคียงคําเดิม และมีความหมาย
ชัดเจนขึ้น เชน
กระโดด มาจาก โดด
ประทวง มาจาก ทวง
ประทับ มาจาก ทับ
กระทํา มาจาก ทํา
ประเดี๋ยว มาจาก เดี๋ยว
1.2 มีตัวสะกดตรงตามมาตรา เชน จง (แมกง) ตัก (แมกก) กับ (แมกบ) เปนตน
1.3 ไมนิยมมีคําควบกล้ํา เชน ทราบ ตราบ สรวง ประพฤติ เปนตน
1.4 ไมมีตัวการันต คําทุกคําสามารถอานออกเสียงไดหมด เชน แม นารัก ไกล
1.5 คําไทยคําเดียว อาจมีความหมายไดหลายอยาง เชน ขันตักน้ํา นกเขาขัน
หัวเราะขบขัน