Page 15 - คำวินิจฉัยศาลปกครองด้านพัสดุ
P. 15
๓
ส่วนที่ ๑
สาระส าคัญของระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี
๑
ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕
๑. หลักการส าคัญของการพัสดุ
๒
การพัสดุมีหลักการที่ส าคัญ ๒ หลักการ ดังต่อไปนี้
๑.๑ หลักการเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติ โดยการด าเนินการเกี่ยวกับการพัสดุจะต้อง
ไม่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อผู้เสนอราคา เช่น จะมีการก าหนดเฉพาะเจาะจง
ลงไปว่าจะจัดซื้อหรือจัดจ้างจากผู้เสนอราคารายหนึ่งรายใดไม่ได้ เว้นแต่กรณีที่วงเงินที่จะ
ด าเนินการมีจ านวนน้อยโดยอยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะใช้วิธีการตกลงราคาได้
๑.๒ หลักการเกี่ยวกับการแข่งขัน โดยการด าเนินการจะต้องมีการแข่งขันกัน
้
อย่างเป็นธรรม เปิดเผย โปร่งใส ปองกันการสมยอมเสนอราคา ซึ่งกรณีดังกล่าวจะส่งผล
๒ ประการ คือ
๑.๒.๑ ท าให้ผู้ยื่นข้อเสนอกับทางราชการสามารถแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม
(เป็นธรรมแก่ราคาเอกชน)
๑.๒.๒ รัฐได้ประโยชน์สูงสุดจากการแข่งขันอย่างเป็นธรรมนั้น (ค่าใช้จ่ายต ่าสุด
หรือประโยชน์ตอบแทนสูงสุด แล้วแต่กรณี)
๑ ใช้บังคับกับส่วนราชการ ได้แก่ ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และส่วนราชการ
ในต่างประเทศ ส าหรับตัวอย่างระเบียบเกี่ยวกับการพัสดุที่ใช้บังคับกับหน่วยงานทางปกครองอื่น ได้แก่
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. ๒๕๓๕ (ใช้บังคับกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดและเทศบาล)
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุขององค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. ๒๕๓๘ (ใช้บังคับ
กับองค์การบริหารส่วนต าบล)
- ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๘ (ใช้บังคับกับกรุงเทพมหานคร)
- ข้อบังคับและระเบียบว่าด้วยการพัสดุของรัฐวิสาหกิจแต่ละแห่ง
๒ กิตดนัย ธรมธัช. ค าบรรยายเรื่อง คดีปกครองเกี่ยวกับการพัสดุและสัญญาทางปกครอง.
ณ ส านักงานศาลปกครอง เมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๕.