Page 121 - cover-biology-boontieam new28-8 i_coateduv
P. 121

ผ่านพิธีการตรวจปล่อยสินค้า  การสืบสวนปราบปราม  การอำนวยความสะดวก

 และควบคุมทางศุลกากร  ตลอดจนการบูรณาการและประสานงานกับหน่วยงานอื่น
 ที่เกี่ยวข้อง  รวมทั้งการบริการประชาชน  ซึ่งจะเห็นได้ว่างานของด่านศุลกากร
 มีมากมายหลายอย่าง  ครอบคลุมทุกภารกิจในทุก ๆ ด้านภายในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
 ของด่านศุลกากรที่ดำรงตำแหน่งอยู่  จึงถือเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบครั้งสำคัญ
 ของ นายด่านฯ  ป้ายแดง ที่มีความท้าทายเป็นอย่างมาก



    การปฏิบัติงาน  ณ  ด่านศุลกากรท่าอากาศยานภูเก็ต
    นับตั้งแต่มีการประกาศให้ท่าอากาศยานภูเก็ตเป็นสนามบินศุลกากร

 กรมศุลกากรได้มอบหมายให้ด่านศุลกากรภูเก็ตจัดเจ้าหน้าที่หมุนเวียนไปปฏิบัติงาน
 ประจำท่าอากาศยานภูเก็ต  และต่อมาในปี พ.ศ. 2532  ได้ออกกฎกระทรวงตั้งด่าน   ภาพที่ทำการด่านศุลกากรท่าอากาศยานภูเก็ต  เมื่อปี พ.ศ. 2534
 ศุลกากรท่าอากาศยานภูเก็ตขึ้นมาอย่างเป็นทางการ  โดยอยู่ในสังกัดสำนักงาน   ซึ่งเป็นที่ทำการชั่วคราว  อยู่ในอาคารคลังสินค้าของท่าอากาศยานภูเก็ต
 ศุลกากรภูมิภาคที่  5  ตอนที่ได้รับแต่งตั้งให้ไปดำรงตำแหน่งนายด่านศุลกากร   (เป็นภาพถ่ายที่ถ่ายในคราวที่ ดร.อรัญ  ธรรมโน  อธิบดีกรมศุลกากรไปตรวจราชการ)
 ท่าอากาศยานภูเก็ตในปี พ.ศ. 2533  นับเป็นนายด่านศุลกากรคนที่  2  มีอัตรากำลัง

 ตั้งแต่นายด่านฯ  ลงมาจนถึงพนักงานขับรถยนต์รวมแล้ว  18  คน  ต้องรับผิดชอบ   ประมาณเวลาตีห้า  (05.00  น.)  และจะส่งเจ้าหน้าที่กลับหลังเวลาเลิกงานและเวลา
 ดูแลการปฏิบัติงานตามภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบของด่านฯ  ตลอด  24  ชั่วโมง    ประมาณสองทุ่ม  (20.00  น.)  ทำให้ต้องตื่นตั้งแต่เวลาประมาณตีสี่  (04.00  น.)
 เพราะเนื่องจากท่าอากาศยานภูเก็ตเปิดให้บริการตลอดเวลา  24  ชั่วโมง  โดยมี   เพื่อให้ทันขึ้นรถไปทำงานในเวลาประมาณตีห้า  (05.00  น.)  กว่าจะได้กลับถึงที่พัก

 ภารกิจที่หลากหลายคล้ายกันกับด่านศุลกากรท่าอากาศยานกรุงเทพ  (ดอนเมือง)    ก็จะเป็นเวลาเกือบสามทุ่ม  (21.00  น.)  และกว่าจะได้นอนก็สี่ถึงห้าทุ่ม  (22.00 -
 ที่ต้องให้บริการตลอดเวลา  24  ชั่วโมงเหมือนกัน  งานอะไรที่ด่านศุลกากร   23.00  น.)  วัฏจักรชีวิตการทำงานเป็นอยู่อย่างนี้ทุกวัน  และเนื่องจากท่าอากาศยาน
 ท่าอากาศยานกรุงเทพมี  ที่ด่านศุลกากรท่าอากาศยานภูเก็ตก็มักจะมีด้วย  แม้ว่า   ภูเก็ตเปิดให้บริการตลอดเวลา  24  ชั่วโมง  จึงต้องจัดเจ้าหน้าที่หมุนเวียนให้อยู่เวร
 ปริมาณจะน้อยกว่ามาก  แต่ลักษณะงานเหมือนกันและจำเป็นต้องมีเจ้าหน้าที่   โดยนายตรวจศุลกากรจะทำงานติดต่อกัน  3  วัน  แล้วได้หยุดพัก  1  วัน  ส่วน
 อยู่ปฏิบัติงานหรือคอยให้บริการ  ไม่ว่าจะเป็นงานการตรวจของติดตัวผู้โดยสาร   ศุลการักษ์จะต้องทำงานติดต่อกัน  4  วัน  แล้วได้หยุดพัก  1  วัน  โดยจะต้องมีการ

 ทั้งขาเข้าและขาออก  การผ่านพิธีการและตรวจปล่อยสินค้า  ร้านค้าปลอดอากร    ผลัดกันอยู่เวรที่สนามบินในเวลากลางคืนอย่างน้อยคืนละ  2  คน  แม้ว่าจะไม่มี
 คลังเสบียงทัณฑ์บน  (Catering)  และอื่น ๆ  โดยมีเครื่องบินเข้า - ออกที่เป็น   เครื่องบินขึ้น - ลงในคืนนั้น ๆ  แต่ก็ต้องมีคนอยู่ประจำการอย่างต่อเนื่อง  สำหรับ
 เที่ยวบินตามตารางการบินปกติ  (Regular  Flight)  และเครื่องบินแบบเช่าเหมาลำ    ตำแหน่งอื่น ๆ ให้มาทำงานตามปกติและจัดเป็นเวรช่วยปฏิบัติงานเพื่อเสริม

 (Charter  Flight)  ที่มักจะเข้า - ออกในช่วงเวลากลางคืน  อัตรากำลังเจ้าหน้าที่   อัตรากำลังในการตรวจผู้โดยสารให้เพียงพอต่อปริมาณงาน  โดยถือเป็นการ
 มีน้อยมากเมื่อเทียบกับปริมาณงานและจำนวนเที่ยวบินที่ทำการบินขึ้น - ลง  โดย   ปฏิบัติงานล่วงเวลาในช่วงเวลาที่อยู่เวร  ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการปฏิบัติงาน
 ในขณะนั้นปริมาณเที่ยวบินที่ท่าอากาศยานเชียงใหม่และท่าอากาศยานหาดใหญ่   นอกเวลาราชการด้วย  ในการจัดเวรปฏิบัติงานดังกล่าวได้ขออนุมัติกรมฯ
 รวมกันยังน้อยกว่าท่าอากาศยานภูเก็ต  เจ้าหน้าที่ของด่านศุลกากรท่าอากาศภูเก็ต    ปฏิบัติงานแตกต่างจากเวลาราชการตามปกติ  ซึ่งสามารถทำได้  โดยจะต้องมี
 ที่อาศัยบ้านพักข้าราชการของด่านศุลกากรภูเก็ตเป็นที่พัก  ซึ่งอยู่ห่างจากสนามบิน   ชั่วโมงเวลาการทำงานรวมกันแล้วต้องไม่น้อยกว่าการปฏิบัติงานตามเวลาปกติ

 ประมาณ  30  กิโลเมตร  ต้องเดินทางไปทำงานแบบไป - กลับ  โดยรถยนต์รับส่ง   ในแต่ละเดือน  และด้วยระยะเวลาการทำงานที่ต้องรับผิดชอบตลอด  24  ชั่วโมง
 ของบริษัท  การบินไทย  จำกัด  (มหาชน)  ที่จะวนเข้ามารับที่ด่านศุลกากรภูเก็ต   ต่อเนื่องทุกวัน  แต่อัตรากำลังมีอยู่อย่างจำกัดเพียง  18  คน  จึงเป็นช่วงเวลาที่



 118                                                                               119
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126