Page 270 - cover-biology-boontieam new28-8 i_coateduv
P. 270
ย้ายออกจากพื้นที่ ทำให้ได้พื้นที่มาใช้ในการก่อสร้างตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ซึ่งเป็นด่านฯ ที่มีพื้นที่กว้างขวาง มีอาคารสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ รวมทั้งที่พักอาศัย
ที่ใหญ่โตสมบูรณ์แบบมาก ผู้ที่ไปทำงานที่ด่านศุลกากรบ้านประกอบสามารถ
หิ้วกระเป๋าเข้าไปอยู่และทำงานได้ทันที จึงเป็นด่านฯ ที่มีความพร้อม สามารถรองรับ
งานในอนาคตได้อีกนานนับร้อยปี เพราะมีพื้นที่ที่เหลืออยู่ที่จะสามารถขยายพื้นที่
การให้บริการได้เพิ่มอีกมากโดยไม่ต้องมีการเวนคืนหรือมีปัญหาเรื่องผู้บุกรุกพื้นที่
ในอนาคตแต่อย่างใด เพราะได้มีการล้อมรั้วแสดงอาณาเขตไว้เรียบร้อยแล้ว หาก
เจ้าหน้าที่ที่อยู่ด่านศุลกากรบ้านประกอบจะช่วยกันดูแลป้องกันมิให้มีการบุกรุกพื้นที่
ของด่านฯ อีก ก็เชื่อแน่ว่าจะไม่มีปัญหาอะไรให้ต้องแก้กันอีกเหมือนในอดีตที่ผ่านมา
พระพรหมอุบลบันดาลประทานพร
ในระหว่างปี พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2554 ขณะที่ผมดำรงตำแหน่งนายด่าน
ศุลกากรสะเดา และได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่กำกับดูแลด่านศุลกากร
บ้านประกอบด้วย โดยในเวลานั้นที่ด่านศุลกากรบ้านประกอบกำลังอยู่ในระหว่าง
การก่อสร้าง บนพื้นที่ประมาณ 248 ไร่ แต่ปัจจุบันมีหน่วยงานอื่น เช่น มูลนิธิ
สงขลา ตรวจคนเข้าเมือง และหน่วยงานด้านความมั่นคงมาขอแบ่งพื้นที่ไปใช้
ในภารกิจของแต่ละหน่วยงานจำนวนหนึ่ง คงเหลือพื้นที่ประมาณ 200 กว่าไร่
แต่ก็ถือว่าเป็นพื้นที่กว้างใหญ่และเป็นโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่โครงการหนึ่ง
ของกรมศุลกากร และในขณะเดียวกัน ด่านศุลกากรสะเดาก็มีโครงการก่อสร้าง
ด่านศุลกากรสะเดาแห่งใหม่ บนพื้นที่ประมาณ 596 ไร่ โดยมีการจ้างที่ปรึกษา
ด่านศุลกากรบ้านประกอบ ออกแบบโครงการด่านศุลกากรสะเดาแห่งใหม่ไว้แล้วตั้งแต่สมัยผมเป็นนายด่าน
ศุลกากรสะเดา และขณะนี้กำลังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง คาดว่าจะแล้วเสร็จ
ของมาเลเซีย ซึ่งกระทรวงมหาดไทยได้ประกาศเปิดเป็นจุดผ่านแดนถาวรมาตั้งแต่ ภายในปลายปี พ.ศ. 2562 และคงจะเปิดใช้งานและให้บริการได้ภายในปี
วันที่ 20 มกราคม 2553 โดยมีพื้นที่รับผิดชอบในอำเภอนาทวีและอำเภอสะบ้าย้อย งบประมาณ 2563
จังหวัดสงขลา
ในช่วงเวลานั้น ผมเห็นว่าโครงการก่อสร้างด่านศุลกากรบ้านประกอบ
ในขณะที่กำกับดูแลด่านศุลกากรบ้านประกอบ ได้เข้าไปเป็นประธาน และโครงการก่อสร้างด่านศุลกากรสะเดาแห่งใหม่ เป็นโครงการขนาดใหญ่ มีพื้นที่
คณะกรรมการตรวจการจ้างโครงการก่อสร้างด่านศุลกากรบ้านประกอบ และ กว้างขวาง ซึ่งตามประเพณีนิยมจะต้องมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ไว้ปกป้องคุ้มครองสถานที่
เข้าเจรจาต่อรองกับราษฎรที่อยู่ในพื้นที่ เพื่อให้ยอมรับเงินค่าชดเชยผลอาสิน และผมเห็นว่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เหมาะสมควรจะเป็น พระพรหม เพื่อจะได้ดูแลปกป้อง
และสิ่งปลูกสร้าง กว่าจะเจรจาต่อรองสำเร็จต้องเข้าไปพูดคุยหลายครั้งหลายหน คุ้มครองพื้นที่ขนาดใหญ่ได้อย่างทั่วถึง ในเวลานั้นพอดีมีการจัดสร้าง พระพรหม-
จนในที่สุดก็ได้รับความร่วมมือจากราษฎรที่อยู่ในพื้นที่ ยอมรับเงินค่าชดเชยและ อุบลบันดาลประทานพร ซึ่งมีทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา
268 269