Page 27 - ภาษาไทย ม.ปลาย31001
P. 27
ห น า | 27
เปนทางการเชน การพูดในวงสนทนาของเพื่อนที่สนิทสนมกัน การพูดใหคําปรึกษาของครู กศน. กับผู
เรียน ผูนําหมูบานชี้แจงรายละเอียดของการประชุมใหคนในชุมชนทราบ ก็ยอมจะใชภาษาอีกอยางหนึ่ง
หรือถาเราพูดกับบุคคลที่รูจักคุนเคยกันมาเปนอยางดีก็ใชภาษาพูดลักษณะหนึ่ง แตถาพูดกับบุคคลที่เรา
เพิ่งรูจักยังไมคุนเคยก็จะใชภาษาอีกลักษณะหนึ่ง
การพูดที่ดี อาจแบงไดเปน 3 ลักษณะคือ
1. การพูดแบบเปนทางการ เปนการพูดที่ผูพูดจะตองระมัดระวังในเรื่องของรูปแบบ วิธีการ
ความถูกตองเหมาะสมของการใชถอยคํา การพูดลักษณะนี้จะใชในโอกาสที่เปนพิธีการ มีรูปแบบวิธีการ
และขั้นตอนในการพูดเปนการพูดในที่ประชุมที่มีระเบียบวาระ การกลาวตอนรับ การกลาวตอบ การกล
าวอวยพร การกลาวใหโอวาท การแสดงปาฐกถา เปนตน
2. การพูดแบบกึ่งทางการ เปนการพูดที่ผูพูดตองพิถีพิถันในการใชถอยคํานอยลง
กวาลักษณะการพูดแบบเปนทางการ จะใชในการสนทนาพูดคุยกันระหวางผูที่ยังไมคุนเคยสนิทสนมกัน
มากนัก หรือในกลุมของบุคคลตางเพศ ตางวัยกัน การพูดในที่ชุมชนก็จะมีการใชการพูดในลักษณะนี้ด
วย เชน การแนะนําบุคคลในที่ประชุม การพูดอภิปราย การแนะนําวิทยากรบุคคลสําคัญเหลานี้ เปนตน
3. การพูดแบบไมเปนทางการ เปนการพูดที่ใชสื่อสารกับผูที่เราสนิทสนมคุนเคยกันมากๆ เชน
การพูดคุยกันของสมาชิกในครอบครัว การพูดกันในกลุมของเพื่อนสนิท หรือพูดกับกลุมคนที่เปนกันเอง
การพูดในลักษณะนี้จะใชกันมากในชีวิตประจําวัน
เรื่องที่ 3 การพูดในโอกาสตางๆ
การพูดระหวางบุคคล
การพูดระหวางบุคคลเปนการพูดที่ไมเปนทางการ ทั้งผูพูดและผูฟงมักไมไดมีการเตรียมตัวลวง
หนา ไมมีการกําหนดเวลาและสถานที่ไมมีขอบเขตเนื้อหาแนนอน ซึ่งเปนการพูดที่ใชมากที่สุด ผูเรียน
จะตองฝกฝนและใชไดทันทีเมื่อจําเปนตองใช การพูดระหวางบุคคลพอจะแยกไดดังนี้
การพูดทักทายปราศรัย ตามปกติคนไทยเราเปนคนมีน้ําใจชอบชวยเหลือเกื้อกูลผูอื่นอยูเสมอ มี
หนาตายิ้มแยมแจมใส รูจักโอภาปราศรัย เมื่อพบใครจะเปนคนที่รูจักกันมากอนหรือคนแปลกหนาก็จะ
ทักทายดวยการยิ้มหรือใชอวัจนภาษา คือกิริยาอาการทักทายกอน ซึ่งเปนเอกลักษณของคนไทยที่ควร
รักษาไวเพราะเปนที่ประทับใจของผูพบเห็นทั้งคนไทยดวยกันและชาวตางประเทศ
การทักทายปราศรัยควรปฏิบัติดังนี้
1. ยิ้มแยมแจมใสความรูสึกยินดีที่ไดพบกับผูที่เราทักทาย