Page 32 - ภาษาไทย ม.ปลาย31001
P. 32

32 | ห น า



                         4.  เรื่องความทุกขรอนของตน    ความโชครายเพื่อขอความเห็นใจ   ยกเวน
               การสนทนากับผูใกลชิดสนิทสนมกันจริงๆ

                       ข.  คุณสมบัติของผูรวมสนทนา

                         1.  มีความรอบรูในเรื่องตางๆ พอสมควร มีการติดตามเหตุการณเปลี่ยนแปลงของบานเมือง

               และโลกอยูเสมอ
                         2.  ใชถอยคําสุภาพ  ระมัดระวังในการใชภาษาใหเหมาะสมเปนกันเอง  แสดงการเอาใจใส

               และกิริยาทาทางยิ้มแยมแจมใส มีการขอโทษ ขออภัยเมื่อพูดผิดพลาด มีการขานรับดวยคํา ครับ คะ ใช

               ครับ ใชคะ จริงครับ ถูกแลวคะ
                         3.  เปนผูพูดและผูฟงที่ดี  ใหโอกาสคูสนทนาไดพูดขณะที่เขาพูดไมจบก็ตองรอไวกอน  แม

               จะเบื่อหนายก็ตองอดทนเก็บความรูสึกไว ไมแสดงกิริยาอาการเบื่อหนายใหเห็น  ใหโอกาสคูสนทนาได

               พูดและแสดงความคิดเห็นใหมากที่สุด
                         4.  รูจักสังเกตความรูสึกของคูสนทนา  ซึ่งจะแสดงออกทางสีหนาทาทางและน้ําเสียง คําพูด

               ถาหากสังเกตเห็นวาคูสนทนาไมสนใจฟง  ไมกระตือรือรน  ดูสีหนาแสดงความเบื่อหนายก็ใหเปลี่ยน

               บรรยากาศดวยการเปลี่ยนเรื่องสนทนา  หรือพยายามสังเกตใหทราบถึงสาเหตุที่ทําใหคูสนทนาไมสนใจ
               เกิดการเบื่อหนายแลวจึงแกไขตามสาเหตุนั้น เชน เห็นวาคูสนทนามีกิจธุระที่จะทํา เราก็ปรับเวลาของการ

               สนทนาใหสั้นเขาหรือใหพอเหมาะพอควร

                         5.  พูดใหกระชับตรงประเด็น ใหรูวาสิ่งใดควรพูด สิ่งใดไมควรพูด  สิ่งใดคูสนทนาพอใจ สิ่ง

               ใดคูสนทนาไมพอใจ ไมพูดขมขู ไมผูกขาดการพูด หากคูสนทนาผิดพลาดไมควรตําหนิโดยตรง ควรมี
               วิธีการและใชคําพูดที่แยบยลเพื่อใหเขารูสึกไดเอง


                       การสนทนากับบุคคลแรกรูจัก


                       บุคคลที่เพิ่งรูจักกันทั้งสองผายยังไมรูถึงภูมิหลังนิสัยรสนิยม  พื้นฐานความรู  ความคิดการ

               สนทนากับบุคคลแรกรูจักควรปฏิบัติดังนี้
                       1.  สรางความคุนเคยดวยการบริการหรือแสดงความเอื้อเฟอดวยวิธีตาง ๆ

                       2.  สังเกตพฤติกรรมของคูสนทนา  เพื่อจะไดทราบลักษณะบางอยางของคูสนทนา

                       3.  เริ่มทักทายดวยถอยคําสุภาพแสดงถึงความเปนมิตร
                       4.  พูดเรื่องทั่วๆ  ไป  อาจจะเปนขาวดัง  เหตุการณลมฟาอากาศ  เมื่อสังเกตไดวาผูสนทนาชอบ

               เรื่องประเภทใด  ก็จะไดสนทนาเรื่องนั้นตอไป  หากเห็นวาคูสนทนาไมชอบเรื่องใดก็จะไดเปลี่ยนเรื่อง

                       5.  เมื่อเห็นวามีความคุนเคยมากแลว  ก็สามารถใชหลักของการสนทนากับบุคคลที่รูจักคุนเคยมา
               ใชกับบุคคลดังกลาว
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37