Page 58 - ภาษาไทย ม.ปลาย31001
P. 58

58 | ห น า



               องกับขอความที่อาน  ดังนั้นจึงตองอาศัยการใชเหตุผลและความรอบคอบในการพิจารณาทั้งถอยคําและ
               สิ่งแวดลอมทั้งหมดที่ผูอานจะตีความสารใดๆ  ไดกวางหรือแคบ  ลึกหรือตื้นขนาดไหน  ยอมขึ้นอยูกับ

               ประสบการณสวนตัวและความเฉียบแหลมของวิจารณญาณ  เปนการอานที่ผูอานพยายามเขาใจความ

               หมายในสิ่งที่ผูเขียนมิไดกลาวไวโดยตรง ผูอานพยายามสรุปลงความเห็นจากรายละเอียดของเรื่องที่อาน
                       การอานตีความนั้น    ผูอานจะตองคิดหาเหตุผล   เขาใจผูเขียน   รูวัตถุประสงครูภาษา

               ที่ผูเขียนใชทั้งความหมายตรงและความหมายแฝง  อนึ่งขอความทั้งรอยแกวและรอยกรองบางบท  มิไดมี

               ความหมายตรงอยางเดียวแตมีความหมายแฝงซอนเรนอยู  ผูอานตองแปลความกอนแลวจึงตีความใหเขา

               ใจความหมายที่แฝงอยู
                       สารที่เราอานอยูนี้มี 2 ประเภท คือ ประเภทรอยแกวและประเภทรองกรอง ดังนั้น การตีความจึง

               มีการตีความทั้งสารประเภทรอยแกวและประเภทรอยกรอง

                       ตัวอยางการตีความสารประเภทรอยกรอง
                             “นาคีมีพิษเพี้ยง           สุริโย

                         เลื้อยบทําเดโช                แชมชา

                         พิษนอยหยิ่งยโส                แมลงปอง
                         ชูแตหางเองอา                 อวดอางฤทธี”

                             (โคลงโลกนิติ)

                       โคลงบทนี้กลาวถึงสัตว  2  ชนิด  ที่มีลักษณะแตกตางกัน    เปรียบเสมือนคน  2  จําพวก
               พวกแรกมีอํานาจหรือมีความสามารถแตไมแสดงออกเมื่อยังไมถึงเวลาอันสมควร  สวนพวกที่ 2 มีอํานาจ

               หรือความสามารถนอยแตอวดดี กวียกยอง จําพวกแรก เหยียดหยามคนจําพวกหลัง โดยสังเกตจากการใช

               ถอยคํา เชน ชูหางบาง พิษนอยบาง ฉะนั้น ควรเอาอยางคนจําพวกแรก คือมีอํานาจมีความสามารถแตไม

               แสดงออกเมื่อยังไมถึงเวลาอันสมควร
               ขอปฏิบัติในการอานตีความ

                       1.  อานเรื่องใหละเอียดแลวพยายามจับประเด็นสําคัญของขอเขียนใหได

                       2.  ขณะอานพยายามคิดหาเหตุผล    และใครครวญอยางรอบคอบ    แลวนํามาประมวลเขากับ

               ความคิดของตนวาขอความนั้นๆ หมายถึงสิ่งใด
                       3.  พยายามทําความเขาใจกับถอยคําบางคําที่เห็นวามีความสําคัญรวมทั้งสภาพแวดลอมหรือ

               บริบทเพื่อกําหนดความหมายใหชัดเจนยิ่งขึ้น

                       4.  การเรียบเรียงถอยคําที่ไดมาจากการตีความ  จะตองมีความหมายชัดเจน
                       5.  พึงระลึกวาการตีความมิใชการถอดคําประพันธ        ซึ่งตองเก็บความหมายของ

               บทประพันธนั้นๆ  มาเรียบเรียงเปนรอยแกวใหครบทั้งคํา  และขอความ  การตีความนั้นเปนการจับเอาแต

               ใจความสําคัญ  การตีความจะตองใชความรูความคิดอันมีเหตุผลเปนประการสําคัญ
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63