Page 60 - ภาษาไทย ม.ปลาย31001
P. 60

60 | ห น า



                       การอานจับใจความหรือสรุปความ คือ การอานที่มุงคนหาสาระของเรื่องหรือของหนังสือแตละ
               เลมที่เปนสวนใจความสําคัญและสวนขยายใจความสําคัญของเรื่อง

                       ใจความสําคัญ คือ ขอความที่มีสาระคลุมขอความอื่นๆ ในยอหนานั้นหรือเรื่องนั้นทั้งหมด  ข

               อความอื่นๆ  เปนเพียงสวนขยายใจความสําคัญเทานั้น   ขอความหนึ่งหรือตอนหนึ่งจะมีใจความสําคัญ

               ที่สุดเพียงหนึ่งเดียว  นอกนั้นเปนใจความรอง  คําวาใจความสําคัญนี้ บางทีเรียกเปนหลายอยาง เชน แกน
               หรือหัวใจของเรื่อง  แกนของเรื่องหรือความคิดหลักของเรื่อง  แตจะอยางไรก็ตามใจความสําคัญคือสิ่งที่เป

               นสาระที่สําคัญที่สุดของเรื่อง  นั่นเอง

                       ใจความสําคัญสวนมากจะมีลักษณะเปนประโยค  ซึ่งอาจจะปรากฏอยูในสวนใดสวนหนึ่งของย
               อหนาก็ได    จุดที่พบใจความสําคัญของเรื่องแตละยอหนามากที่สุดคือ  ประโยคที่อยูตอนตนยอหนา

               เพราะผูเขียนมักจะบอกประเด็นสําคัญไวกอน  แลวจึงขยายรายละเอียดใหชัดเจน  รองลงมาคือประโยค

               ตอนทายยอหนา  โดยผูเขียนจะบอกรายละเอียดหรือประเด็นยอๆ กอน  แลวจึงสรุปดวยประโยคที่เปน
               ประเด็นไวภายหลัง  สําหรับจุดที่พบใจความสําคัญยากขึ้นก็คือประโยคตอนกลางยอหนา  ซึ่งผูอานจะต

               องใชความพยายามสังเกตใหดี    สวนจุดที่หาใจความสําคัญยากที่สุด  คือ  ยอหนาที่ไมมีประโยคสําคัญ

               ปรากฏชัดเจน  อาจมีหลายประโยคหรืออาจจะอยูรวมๆ กันในยอหนาก็ได  ซึ่งผูอานตองสรุปออกมาเอง


                       การอานและพิจารณานวนิยาย

                       คําวา “นวนิยาย” (Novel) จัดเปนวรรณกรรมประเภทหนึ่ง หมายถึง หนังสือที่เขียนเปนรอยแกว

               เลาถึงชีวิตในดานตางๆ ของมนุษย  เชน  ดานความคิด  ความประพฤติ  และเหตุการณตางๆ  ที่เกิดขึ้นใน

               ชีวิตจริงของมนุษย ชื่อคน  หรือพฤติกรรมที่แสดงออกเปนเรื่องสมมุติทั้งสิ้น นวนิยายแบงเปน 6 ประเภท
               ดังนี้

                       1.  นวนิยายอิงประวัติศาสตร    เชน  ผูชนะสิบทิศ  (อิงประวัติศาสตรมอญ)  ชูซีไทเฮา

               (อิงประวัติศาสตรจีน)  สี่แผนดิน  (อิงประวัติศาสตรไทยสมัยรัตนโกสินทร  แผนดินรัชกาลที่ 5 -8)

               กระทอมนอยของลุงทอม(อิงประวัติศาสตรอเมริกา)
                       2.  นวนิยายวิทยาศาสตร  คือ นวนิยายที่นําความมหัศจรรยทางวิทยาศาสตรแขนงตางๆ มาเขียน

               เปนเรื่องราวที่นาตื่นเตน เชน  กาเหวาที่บางเพลง  สตารวอร(Star war) มนุษยพระจันทร  มนุษยลองหน

               เปนตน
                       3.  นวนิยายลึกลับ  ฆาตกรรม  นักสืบ  สายลับ  เชน  เรื่องเชอรลอกโฮม  มฤตยูยอดรัก

                       4.  นวนิยายเกี่ยวกับภูตผีปศาจ  เชน  แมนาคพระโขนง  กระสือ  ศีรษะมาร  เปนตน

                       5.  นวนิยายการเมือง  คือ  นวนนิยายที่นําความรูทางการเมืองการปกครองมาเขียนเปนเนื้อเรื่อง
               เชน ไผแดง ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์  ปราโมช  เปาบุนจิ้น  สามกก  สารวัตรใหญ  เปนตน
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65